Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2203
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพรรณ ศรีเสาวลักษณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ โพธิ์ทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-21T08:32:03Z-
dc.date.available2022-11-21T08:32:03Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2203-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเชื่อมโยงของการขยายตัวทางเศรษฐกิจกับมลพิษทางสิ่งแวดล้อมจำนวน 5 ตัวอย่างได้แก่ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ก๊าซโอโซน (O3) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10ไมครอน (PM10) ในประเทศไทยตั้งแต่ปีพ.ศ. 2539-2555 และความสอดคล้องกับทฤษฎีเส้นโค้งสิ่งแวดล้อมของ Kuznets 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมลพิษในอากาศกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศแต่ละตัวแปรที่ได้กำหนดในแบบจำลอง 3) นำข้อมูลแบบจำลองที่ได้มาวิเคราะห์และเปรียบเทียบระหว่างตัวแปรอิสระได้แก่ SO2 , NO2 , CO , O3 และ PM10 การศึกษาใช้ข้อมูลทุติยภูมิ ได้จากเก็บจากแหล่งข้อมูลโดยตรง จากข้อมูลมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานคร เป็นรายเดือนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539-2555 ของสถานที่ทั้งหมดจำนวน 17 จุด และข้อมูลรายได้ประชาชาติ รายไตรมาสจากธนาคารแห่งประเทศไทย สถิติในการศึกษา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์การถดถอยพหุคูณ เพื่อหาความสมพันธ์ระหว่างค่ามลพิษทั้ง 5 ชนิดกับค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ ผลการวิจัย พบว่า 1) NO2 O3 แปรผันกับผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศเช่นเดียวกับช่วงแรกของทฤษฎีเส้นโค้งสิ่งแวดล้อมของคุซเน็ตส์ ส่วน SO2 CO, PM10 แปรผกผันกับผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศช่นเดียวกับช่วงหลังของทฤษฎีเส้นโค้งสิ่งแวดล้อมของคุซเน็ตส์ 2) เมื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศกับค่าเฉลี่ยข้อมูลมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครประเภทต่างๆ เปรียบเทียบเป็นรายคู่พบว่า NO2 O3 แปรผันตรงกับกับผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ ส่วน SO2 CO PM10 แปรผกผันกับ GDP 3) SO2 NO2 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและลดลงไปในทางเดียวกัน มีค่าสูงในช่วงฤดูหนาวและ มีค่าตํ่าสุดในช่วงฤดูฝน CO, O3, PM10 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและลดลงในแต่ละช่วงไตรมาสไปในทางต่างกัน ดังนั้น CO, O3 มีค่าสูงในช่วงฤดูหนาว แต่ CO มีค่าตํ่าสุดในช่วงฤดูร้อน ในขณะที่ O3 มีค่าตํ่าสุดในช่วงฤดูฝนซึ่ง O3 มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางการเปลี่ยนแปลงเดียวกับปริมาณ NO2 ถ้า NO2 เพิ่ม O3 ก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วน PM10 มีค่าสูงในช่วงฤดูร้อนและมีค่าตํ่าสุดในช่วงฤดูฝนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อม--แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleความเชื่อมโยงของความขยายตัวทางเศรษฐกิจกับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533-2553th_TH
dc.title.alternativeThe link between economic growth and environmental factors in Thailand from 1990 to 2010th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research objectives are: 1) to study of the relationship between economic growth and 5 types of air pollutants: sulfur dioxide (SO2), nitrogen dioxide (NO2), carbon monoxide (CO), ozone (O3) and particulate matter less than 10 microns (PM10) in Thailand during 1996-2012 and its conformation with the Environment Kuznets Curve (EKC) 2) to study the relationships between air pollution and factors on Gross Domestic Product (GDP) 3) to analyze and compare the changing trends of these 5 pollutants over the period between 1996-2012. Data used in this analysis are monthly data of the level of concentration of the pollutants collected from 17 locations in Bangkok. Quarterly national income data were from the Bank of Thailand. The statistics used in this study include multiple regression analysis to find correlation between the 5 pollutants and Gross Domestic Product. The research found that 1) changes in NO2 and O3 were positively correlated with the changes in the GDP which could be said to reflect the earlier stage of the Environmental Kuznets Curve when the slope of the curve was positive, Whereas SO2, CO, PM10 varied reversely with GDP corresponding to the second part of the Environmental Kuznets Curve when the slope of the curve was negative, 2) The relationship between GDP and the average of air pollution in Bangkok in pairwise comparison found that NO2 and O3 had direct variation in GDP and SO2, CO, PM10 had reverse variation in GDP. 3) Changes in concentration of SO2 and NO2 follow the same pattern with concentration being higher in the winter and lowest in the rainy season. The concentration of CO, O3, PM10, however, moved in different directions. CO and O3 concentration were higher in the winter season. CO concentration was lowest in summer whereas O3 concentration was lowest in the rainy season and also is related to the change in the NO2 concentration. If NO2 increased, O3 would tend to rise. Moreover, PM10 was higher in summer and lowest in the rainy seasonen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153574.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons