Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ์ ไพรัตนากร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-23T07:43:43Z-
dc.date.available2022-11-23T07:43:43Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2212-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการดื่มกาแฟสด ของผู้บริโภค 2) พฤติกรรมการดื่มกาแฟสดของผู้บริโภค 3) ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ในการดื่มกาแฟสดของผู้บริโภค และความยืดหยุนของอุปสงค์ และ 4) ปัจจัยประกอบการตัดสินใจในการดื่มกาแฟสดของผู้บริโภคในเขตเทศบาล นครนครศรีธรรมราช การศึกษาใช้แบบสอบถามเป็นเครื่อง มือวิจัยรวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคจำนวน 400 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ จากผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช อำเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช ในช่วงเดือนกรกฎาคม- สิงหาคม 2557 การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ ของผู้บริโภคใช้สมการถดถอยโลจิสติก พฤติกรรมการดื่มกาแฟสดของผู้บริโภคใช้สถิติความถี่ ร้อยละ และไคส แควร์ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และความยืดหยุ่นของอุปสงค์ใช้สมการถดถอยพหุคูณ และปัจจัยประกอบการ ตัดสินใจของผู้บริโภคใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบทีและการทดสอบแบบเอฟ ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการดื่มกาแฟสดที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ได้แก่ อายุและระดับการศึกษาของผู้บริโภค โดยมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจดื่มในทิศทางเดียวกัน โดย สัมประสิทธิ์แห่งการกำหนดเท่ากับ 0.40 2) ผู้ดื่มกาแฟสดส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุโดยเฉลี่ย 39 ปี สถานภาพ โสด จบปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว/ พนักงานเอกชน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,000 บาท เลือก ดื่มที่ร้านกาแฟสด ค่าใช้จ่ายในการดื่มสัปดาห์ละ 100 บาท สัปดาห์ละ 2 แก้ว ราคาเฉลี่ยต่อแก้ว 50 บาท การดื่ม เพื่อโอกาสใช้เป็นสถานที่นัดพบ และช่วงเวลาที่นิยมดื่มเวลา 13.00 น. 3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอุปสงค์ในรูป ของค่าใช้จ่ายในการดื่มและในรูปของจำนวนแก้วในการดื่มกาแฟสดต่อสัปดาห์ซึ่งในทิศทางเดียวกัน ที่ระดับ นัยสำคัญ .05 ได้แก่ ปัจจัยเพศ ปัจจัยรายได้ และผู้มีอาชีพพนักงานเอกชน/ธุรกิจส่วนตัว โดยค่าสัมประสิทธิ์แห่ง การกำหนดเท่ากับ 0.08 และ 0.12 ตามลำดับ และความยืดหยุนของอุปสงค์ต่อรายได้เท่ากับ 0.19 และ 0.16 4 ตามลำดับ 4) ปัจจัยประกอบการตัดสินใจในการดื่มกาแฟสดอยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านผลิตภัณฑ์ ได้แก่ รสชาติ ของกาแฟ/ความหอมของกาแฟ ด้านราคาได้แก่ ราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพของกาแฟและกับบริการที่ได้รับ ด้านสถานที่ ได้แก่ ความสะอาดของร้าน ด้านการส่งเสริมการตลาด ได้แก่ การจัดโปรโมชั่นเป็นชุดในราคาพิเศษ ด้านบุคคลากรได้แก่ ความพร้อมตลอดในการให้บริการ ด้านการให้บริการได้แก่ ความซื่อสัตย์และยุติธรรมใน การให้บริการ และพบว่าปัจจัยส่วนตัวของผู้บริโภคด้านเพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และรายได้ที่ ต่างกันมีระดับของปัจจัยประกอบการตัดสินใจที่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกาแฟ--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคกาแฟสดของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeConsumer behavior on fresh coffee consumption in Nakhon Si Thammarat Municipality, Muang District, Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study: 1) factors determining the decision on fresh coffee drinking; 2) consumers’ behavior on fresh coffee drinking; 3) factors affecting demand for fresh coffee drinking, and elasticity of demand; and 4) complementary factors determining the decision on fresh coffee drinking of consumers in Nakhon Si Thammarat Municipality, Muang district, Nakhon Si Thammarat province. The study used questionnaire as a tool to collect data from 400 consumers through accidental sampling method in Nakhon Si Thammarat Municipality, Muang district, Nakhon Si Thammarat province during July-August 2014. Regarding data analysis, logistic regression model and multiple regression analysis were employed to explore the factors determining the decision and factors determining demand for fresh coffee drinking and elasticity of demand respectively. Means, frequency, standard deviation and chi-square were applied to investigate the consumers’ behavior on fresh coffee drinking. Means, standard deviation, t-test and ANOVA were employed to examine the complementary factors determining the decision of consumers on fresh coffee used drinking. The results were as follows. 1) Factors probability affecting on decision to consume fresh coffee as in the same direction were age and bachelor's degree or higher education level, at the significance level of .05, with a determinant coefficient at 0.40. 2) Fresh coffee consumers were mostly female, 39 years old, single, a bachelor's degree or higher, business owners / private employees, earned 15,000 baht per month, drank the coffee in a fresh coffee shop, paid for coffee 50 baht per glass, drank coffee because of meeting purpose, and mainly drank at 1.00 PM. As for weekly consumption, they took 2 glasses of coffee, paid for the coffee 100 baht, and drank 2 times. 3) Factors positively affecting demand for fresh coffee in term of weekly payment and number of glass, at the level significance of .05 were sex, income and officer/business owner, with determinant coefficients at 0.08 and 0.12 respectively. The income elasticity of demand was 0.19 and 0.16 respectively. 4) Complementary factors determining decision to drink the coffee were at high level for all aspects: product, i.e. the taste/aroma of fresh coffee; price, i.e. reasonable price compared with the quality and service; place, i.e. shop cleanness; promotion, i.e. special package promotion; personnel, i.e. ready for service; and service, i.e. honesty/ fairness. Different personal factors i.e. sex, married status, education and income reveled different level of the complementary factorsen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144700.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons