Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2220
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาริฉัตร เคนชมภู-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-24T03:39:08Z-
dc.date.available2022-11-24T03:39:08Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2220-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของผู้ใช้บริการสินเชื่อกรุงไทยธนวัฏ ของ ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจในเขตอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างการใช้บริการสินเชื่อกรุงไทยธนวัฏกับปัจจัยส่วนบุคคลของข้าราชการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจในเขต อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา กับข้อมูลสภาพทั่วไป และ 3) วิเคราะห์ปัญหาของการใช้บริการสินเชื่อ กรุงไทยธนวัฏของข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจในเขตอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา วิธีดำเนินการวิจัยได้เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างตามความสะดวกกลุ่ม ตัวอย่างคือข้าราชการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจในเขตอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ที่มีบัญชีเงินเดือน ผ่านธนาคารกรุงไทยสาขาด่านขุนทด คำนวณหาจำนวนตัวอย่างจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ระดับความคลาด เคลื่อน 0.05 ได้ 289 ตัวอย่าง การวัดระดับความพึงพอใจในแต่ละด้านด้วยวิธีวัดตามแบบมาตราส่วนประเมินค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยใช้แบบจำลองโลจิท ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 65.7 มีอายุอยู่ในช่วงระหว่าง 30-40 ปี ร้อยละ 32.5 มีสถานภาพสมรส ร้อยละ 50.2 จบการศึกษาปริญญาตรี ร้อยละ 73.3 มีระดับเงินเดือน 10,001- 20,000 บาท ร้อยละ 13.6 ส่วนใหญ่มีเงินออมเหลือน้อยกว่า 5,000 บาท ร้อยละ 42.9 มีภาระหนี้สินกับสหกรณ์ ออมทรัพย์ ร้อยละ 28.7 ส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสารของสินเชื่อจากเพื่อนร่วมงานร้อยละ 44.6 มีวัตถุประสงค์ ในการใช้สินเชื่อเพื่อสำรองไว้ใช้ยามฉุกเฉิน ร้อยละ 56.4 2) อายุและเงินเดือนที่เพิ่มขึ้นโอกาสที่ลูกค้าจะใช้บริการ สินเชื่อกรุงไทยธนวัฏมีทิศทางเพิ่มขึ้น ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง การใช้บริการสินเชื่อกรุงไทยธนวัฏ ของข้าราชการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจในเขตอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา กับข้อมูลสภาพทั่วไปของ กลุ่มตัวอย่างพบว่า การใช้บริการสินเชื่อกรุงไทยธนวัฏมีความสัมพันธ์กับอายุและการรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ สินเชื่อกรุงไทยธนวัฏ ณ ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติที่ 0.05 3) ปัญหาจากการใช้บริการสินเชื่อกรุงไทยธนวัฏของ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ประสบปัญหาเรื่องมีเอกสารประกอบการกู้จำนวนมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารกรุงไทย. สินเชื่อกรุงไทยธนวัฎth_TH
dc.subjectสินเชื่อ--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการสินเชื่อกรุงไทยธนวัฏของข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจในเขตอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the use of loan service of Kung Thai Thanawat Loan by Government Officials and State Enterprise Employees in Dankhuntod District, Nakhon Ratchasima Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) study generality of government officials and state enterprise employees who used loan service of Krung Thai Thanawat Loan; 2) analyze the relationship between the use of loan service of Krung Thai Thanawat Loan and personal factors of government officials and state enterprise employees; and 3) investigate the problems of loan service of Krung Thai Thanawat Loan by government officials and state enterprise employees in Dankhuntod district, Nakhon Ratchasima province. Data was collected through questionnaire and convenience sampling method was used. The sample group consisted of 289 government officials and state enterprise employees with payroll accounts with Krungthai Bank, Dankhuntod Branch, Nakhon Ratchasima. In this study, sample size can be calculated by using the Taro Yamane Formula with sampling error of 0.05. Rating scale was applied for measuring participants’ satisfaction. Frequency, percentage, mean, and Logit Model were applied for analyzing the data. The findings were that 1) the majority of participants were females (65.7%); aged 30 and 40 years old(32.5%); had single status(50.2%); held undergraduate education (73.3%); earned average monthly income of 10,001-20,000 Baht (13.6%); had saving amount less than 5,000 Baht per month(42.9%); owed debt obligation to Credit Union(28.7%); perceived information on loan from colleagues (44.6%); aimed to use loan for contingencies (56.4%), 2) the relationship between age and monthly income and participants’ use of loan service of Krung Thai Thanawat Loan was positively related. The results also found that the use of loan service of Krung Thai Thanawat Loan was related to age and loan information perception at significance level of 0.05, 3) the majority of the participants faced the problem of complicated documents required for loan application. For suggestion, the bank staffs should request loan applicants to prepare just necessary documents in order to avoid excessive documentation requirementsen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
138853.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons