Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวีณา ยาหน่าย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-25T03:56:55Z-
dc.date.available2022-11-25T03:56:55Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2232-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ 1) ผลการจัดเก็บภาษีเงินได้กรุงเทพมหานคร 2) ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีเงินได้ และ 3) ความยืดหยุนของภาษีเงินได้ช่วงก่อนและหลังมาตรการ ลดอัตราภาษีเงินได้ของสํานักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร การศึกษาใช้ข้อมูลทุติยภูมิประกอบด้วยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล และ ภาษีเงินได้ทั้งสองประเภท ค่าใช้จ่ายและอัตรากาลังที่ใช้ในการจัดเก็บภาษีทุกประเภทของสํานักงาน สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร และผลิตภัณฑ์มวลรวมกรุงเทพมหานคร ผลการจัดเก็บและประสิทธิภาพ การจัดเก็บภาษีเงินได้ศึกษาในช่วงปี 2551-2558 ส่วนความยืดหยุ่นของภาษีเงินได้ศึกษาในช่วงปี 2540- 2558 โดยใช้สมการถดถอยอย่างง่าย ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการจัดเก็บภาษีเงินได้ที่พิจารณาจากสัดส่วนภาษีที่จัดเก็บได้ต่อ ผลิตภัณฑ์มวลรวมกรุงเทพมหานคร มีสัดส่วนของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในช่วงก่อนตํ่ากว่าช่วงหลัง มาตรการภาษีเฉลี่ยร้อยละ 0.32 ต่อปี สัดส่วนของภาษีเงินได้นิติบุคคลในช่วงก่อนสูงกว่าช่วงหลัง มาตรการภาษีเฉลี่ยร้อยละ 0.93 ต่อปี และสัดส่วนของภาษีเงินได้รวมในช่วงก่อนสูงกว่าช่วงหลัง มาตรการภาษี เฉลี่ยร้อยละ 0.60 ต่อปี 2) ประสิทธิภาพการจัดเก็บที่พิจารณาจากสัดส่วนจํานวนภาษีที่เก็บ ได้และค่าใช้จ่ายต่อเจ้าหน้าที่ที่จัดเก็บภาษี และค่าใช้จ่ายต่อจํานวนภาษีที่เก็บได้ โดยค่าใช้จ่ายต่อผลจัดเก็บ ภาษี ในช่วงก่อนสูงกว่าช่วงหลังมาตรการภาษี เฉลี่ยร้อยละ 0.039 ต่อปี ค่าใช้จ่ายต่อเจ้าหน้าที่จัดเก็บภาษี ในช่วงก่อนตํ่ากว่าช่วงหลังมาตรการภาษี เฉลี่ย ร้อยละ 0.051 ต่อปี และจํานวนภาษีที่จัดเก็บต่อเจ้าหน้าที่ ในช่วงก่อนมาตรการภาษีตํ่ากว่าหลังมาตรการภาษี โดยเฉลี่ยร้อยละ 22.442 ต่อปี และ 3) ค่าความยืดหยุ่น ของภาษีเงินได้ทั้ง 3 ประเภท ในช่วงก่อนมาตรการมากกว่าช่วงหลังมาตรการภาษี กล่าวคือความยืดหยุ่น ของภาษีบุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีเงินได้ร่วมลดลงหลังจากมีมาตรการภาษีโดยเฉลี่ย เท่ากับ 0.156, 3.383 และ2.786 ต่อปี ตามลําดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษี--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบผลการจัดเก็บประสิทธิภาพและความยืดหยุ่นของภาษีเงินได้ในช่วงก่อนและหลังมาตรการลดภาษีของสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeComparison of tax performance, efficiency and elasticity of income tax before and after tax reduction measure of Bangkok Area Revenue Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to compare 1) the results of Bangkok income tax collection 2) the efficiency of income tax collection, and 3) the elasticity of income tax before and after the income tax reduction measure of Bangkok Area Revenue Office. Secondary data consisting of personal income tax, corporate income tax, both types of income tax, expenses and manpower were used to collect taxes of all types of the Bangkok Area Revenue Office and the Bangkok Gross Products. Results and the Efficiency of Income Tax collection were drawn from the period 2008-2015. Simple regression analysis was used to derive the elasticity of income tax during 1997-2018. The results of the study revealed that 1) result of the income tax collection based on the proportion of tax on Gross Bangkok Production was lower for premeasure tax reduction at the average 0.32 percent per year for personal income tax but was higher at the average of 0.93 percent per year for corporate income tax and the proportion of overall income tax was higher at the average of 0.60 percent per year. 2) The efficiency of tax collection based on the proportion of tax collected and the expenses for tax collection per person and total expenditure used were higher for the pre-measure tax reduction period at the average of 0.039 percent per year. Expense per head was lower for the pre-measure tax reduction at the average of 0.051 percent per year and the tax collection per head was lower for the pre-measure tax reduction at the average of 22.42 percent per year and 3) The elasticity of three types of tax collection was higher for the pre-measure tax i.e., the elasticity of personal income tax, corporate income tax reduction and total income tax was lower for the postmeasure tax reduction and were 0.156, 3.383 and 2.786 per year respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152880.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons