Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2236
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ เลี้ยงดีศรีสุข, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-25T07:19:30Z-
dc.date.available2022-11-25T07:19:30Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2236-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัย ส่วนบุคคลของสมาชิกที่ใช้สินเชื่อสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด 2) ศึกษาปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดของสหกรณ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้สินเชื่อของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด 3) ศึกษาปัจจัยด้านอื่นของสหกรณ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้สินเชื่อของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด วิธีการศึกษาโดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยเก็บข้อมูล จากแบบสอบถาม จากจำนวนกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 375 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติอ้างอิงที่ใช้ในการวิคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้สินเชื่อของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำ กัดอยู่ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์ได้แก่ เงินกู้สามัญ เพ่ือความมั่นคงเงินกู้สามัญทั่วไปและเงินกู้สามัญเฉพาะกิจ โครงการรวมหนี้ ตามลำดับ ด้านราคา ได้แก่ วงเงินกู้รวมทุกสัญญา วงเงินกู้แต่ละประเภทสัญญาและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ตามลำดับ ด้านช่องทางการบริการ ได้แก่ การติดต่อโดยตรงกับสหกรณ์ การติดต่อผ่านผู้ประสานงานและการติดต่อผ่านกรรมการประจำ หน่วยตามลำดับ ด้านส่งเสริมการตลาดได้แก่สวัสดิการคุ้มครองวงเงินกู้จำนวนงวดท่ีผ่อนชำระและปฎิทินการจ่ายเงินกู้ตามลำดับ ด้านระบบให้บริการ ได้แก่ แบบฟอร์มการกู้เงิน ความรวดเร็วในการให้บริการ และขั้นตอนการให้บริการ ตามลำ ดับด้านบุคลากร ได้แก่ การให้บริการด้วยความครบถ้วน ความเสมอภาคในการให้บริการเงินกู้ และความสะดวกรวดเร็วของการให้บริการตามลาดับ ด้านสถานที่ ได้แก่ บริเวณการให้บริการสินเช่ือ ทำเลที่ตั้งและสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์การใช้สินเชื่อของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด ได้แก่ แบบฟอร์มการกู้เงิน ด้านขั้นตอนการให้บริการ ได้แก่ ความเพียงพอของช่องให้บริการ ป้ายบอกตำแหน่งให้บริการต่างๆ การจัดลำดับ ก่อน-หลังการให้บริการ บริการด้วยความถูกต้องครบถ้วน ความเสมอภาคในการให้บริการเงินกู้ ความกระตือรือร้นในการให้บริการ การให้คำแนะนำในการเลือกใช้สินเชื่อด้านความสะดวกรวดเร็วของการให้บริการ ได้แก่ ทำเลท่ีตั้ง บริเวณการให้บริการสินเชื่อ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ที่จอดรถสำหรับผู้มาติดต่อth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด--สมาชิกth_TH
dc.subjectสินเชื่อth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้สินเชื่อของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting members' decisions to use the credit service of Lampang Teacher's Saving Cooperative Ltd.th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study objectives were focused on 1) to study the individual factors for loan service of Lampang Teacher Saving Cooperatives Ltd (LTSC) 2) to study the marketing mix of credit demand of member of LTSC 3) to study other factors which had influence on credit decision of LTSC. The study methodology was applied primary data conducted from questionnaire. The sample size was 375 persons. Descriptive statistics was applied such as frequency, percentage, arithmetic mean, and standard deviation. For the inferential statistics, regression analysis was applied. The study showed that the marketing mix had the high influence on members’ decision on loan demand. For the product aspect, there was the loan for security, general loan and also the loan for specific purposes as well as the loan integrated project, for the price aspect, the amount of loan, the type of loan, interest rate, for the service channel, the direct communication between members and cooperatives, the communication between members and cooperatives coordinator, included members and unit officers, for the marketing promotion, there was the welfare for loan protection, the period f payment and the schedule for payment, for the service system, there was the loan form, the quickness of service, the step of service, for the staff aspect, there was the accurate service, the equality of service, the convenient service, for the location, there was the area of service, internal and external environment, the factors that correlated to members’ loan of LTSC, there was the application, the process of service, the first-in first out service system, accuracy of service, the equality of loan service, active service, in addition, the loan with advice was members’ need. There were factors that affect on service quality such as location, area of service and also the parking lot-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext-129188.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons