Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2291
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษฎา สัตยวินิจ, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-01T04:25:24Z-
dc.date.available2022-12-01T04:25:24Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2291-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาพรวมของการเคลื่อนไหวของอัตราเงินเฟ้อกับอัตราการว่างงานของประเทศไทย 2) วิเคราะห์ดุลยภาพในระยะยาวและการปรับตัวในระยะสั้นของอัตราเงินเฟ้อกับอัตราการว่างงานของประเทศไทย 3) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อกับอัตราการว่างงานของประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของ 2 ตัวแปรคือ ดัชนีราคาผู้บริโภคและอัตรา การว่างงานของประเทศไทย ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิเป็นแบบรายไตรมาศ ตั้งแต่ มกราคม พ.ศ. 2544 - ธันวาคม พ.ศ. 2553 โดยใช้เทคนิคทางเศรษฐมิติด้วยวิธี โคอินทิเกรชันและเออร์เรอรคอเรคชั่น เพื่อให้ ทราบถึงความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวและการปรับตัวในระยะสั้น และทดสอบความสัมพันธ์ ระหว่างการว่างงานกับอัตราเงินเฟ้อโดยวิธี Granger Causality เพื่อหาความสัมพันธ์ในลักษณะเชิงเป็นเหตุ เป็นผลระหว่างอัตราเงินเฟ้อกับอัตราการว่างงานของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า 1) ดัชนีราคาผู้บริโภคมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่อัตราการว่างงานมีแนวโน้มลดลง 2) การทดสอบความนิ่งของข้อมูลโดยวิธี Augmented Dickey- Fuller ของอัตราเงินเฟ้อและอัตราว่างงาน พบว่าข้อมูลทั้งสองชุดมีความนิ่งที่ผลต่างลำดับที่ 1 หรือ I (1) จากนั้นนำมาทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวพบว่า อัตราการว่างงานและอัตราเงินเฟ้อมี ความสัมพันธ์กันในเชิงดุลยภาพระยะยาว ส่วนการทดสอบการปรับตัวในระยะสั้น โดยกรณีที่อัตราการ ว่างงานเป็นตัวแปรอิสระและอัตราเงินเฟ้อเป็นตัวแปรตามนั้น จะมีการปรับตัวในระยะสั้นโดยใช้เวลาใน การปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพ 2.4 วัน สำหรับกรณีอัตราเงินเฟ้อเป็นตัวแปรอิสระและอัตราการว่างงานเป็นตัว แปรตาม จะมีการปรับตัวในระยะสั้นโดยใช้ระยะเวลา 66 วัน 3) การทดสอบความสัมพันธ์ที่เป็นเหตุเป็น ผลพบว่า มีความสัมพันธ์แบบทิศทางเดียวคือ อัตราเงินเฟ้อเป็นสาเหตุของอัตราการว่างงาน ณ ระดับ นัยสำคัญทางสถิติที่ร้อยละ 0.05 ซึ่งสนับสนุนทฤษฎีเส้นโค้งฟิลลิปส์บางส่วนเท่านั้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการว่างงาน -- ไทยth_TH
dc.subjectการจ้างงาน (ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์)th_TH
dc.subjectการจ้างงาน -- ผลกระทบจากเงินเฟ้อ -- ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อกับอัตราการว่างงานของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between inflation rate and unemployment rate of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativePurposes of this study were to: 1) study overview movement inflation rate and unemployment rate; 2) analyze the long run equilibrium relationship and the short run adjustment inflation rate and unemployment rate: and 3) test the relationship between inflation rate and unemployment rate of Thailand. The study focused on 2 variables, i.e consumer price index (CPI) and the unemployment rate, which were secondary quarterly data during January 2001 to December 2010. The econometric technique with Cointegration and Error Correction Method was employed to investigate the long run equilibrium relationship and short run adjustment, relationship test between the unemployment rate and the inflation rate. Also. Granger Causality Method was applied to explore the causality between the inflation rate and unemployment rate. The study results are following: 1) Consumer price index (CPI) trend was increase in the last 10 years while the unemployment rate trend was decrease. 2) For the unit root test of the inflation rate and unemployment rate values by Augments Dickey Fuller Method, the stationary of these 2 sets of value were at the first difference ( 1(1) ). Concerning the long run relationship test, the result showed that the inflation rate and the unemployment rate had in long run relationship. Regarding the short ณท movement in case that the unemployment rate was independent variable and the inflation rate was dependent variable, the short run adjustment took 2.4 days to get into equilibrium. With reference to the short run movement in case that the unemployment rate was dependent variable and the inflation rate was independent variable, the short run adjustment took 66 days to get into equilibrium. 3) Causality test showed one directional relation which meaned the inflation rate was the cause of the unemployment rate at statistical significance level of 0.05%. This finding only partially supports Phillips curve theoryen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130942.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons