Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2292
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรวดี จรุงรัตนาพงศ์th_TH
dc.contributor.authorกรธนาวีร์ อ่อนสำอางค์, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์.th_TH
dc.date.accessioned2022-12-01T04:46:31Z-
dc.date.available2022-12-01T04:46:31Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2292en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัจจุบันของการจัดการของเสียอันตรายขององค์การบริหารส่วนตำบลค่ายบางระจัน 2) วิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลในการจัดการของเสียอันตรายขององค์การบริหารส่วนตำบลค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ข้อมูลจากการศึกษานี้ รวบรวมจากข้อมูลทุติยภูมิ และการสำรวจครัวเรือนแบบเจาะจงจำนวน 100 ครัวเรือน เพื่อนำมาเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลของโครงการที่ เป็นไปได้ในการจัดการของเสียอันตราย 3 โครงการภายใต้อายุโครงการ 10 ปี ได้แก่ 1) การตั้งจุดรับทิ้งของเสียอันตรายแบบครบวงจร 2) โครงการออกรับของเสียอันตรายถึงหน้าบ้าน และ 3) โครงการธนาคารของเสียอันตรายซึ่งโครงการที่เหมาะสมตามเงื่อนไขการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลคือโครงการที่มีต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุด โดยการทดสอบความอ่อนไหวด้วยอัตราคิดลดที่แตกต่างกันได้แก่ ร้อยละ 3 ร้อยละ 5 และร้อยละ 8 และการเพิ่มปริมาณของเสียอันตรายจากครัวเรือนจากค่าอัตราการเติบโตของขยะในปัจจุบันจาก 1.654 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อเดือนเป็น 2 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อเดือนและ 3 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อเดือน ผลการวิเคราะห์พบว่า 1) องค์การบริหารส่วนตำบลค่ายบางระจัน สามารถจัดเก็บของเสียอันตรายของครัวเรือนได้เพียง 30 กิโลกรัมต่อเดือน โดยของเสียอันตรายที่ไม่ได้รับการจัดการย่อมส่งผลก่อให้เกิดผลกระทบภายนอกทางลบต่อสังคม และ 2) โครงการที่มีต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุดคือ โครงการที่ 1 โครงการที่ตั้งจุดรับของเสียอันตรายแบบครบวงจร มีต้นทุนอยู่ในช่วง 14,231 - 18,654 บาทต่อตัน ณ ราคาคงที่ พ.ศ.2561 และเมื่อทำการวิเคราะห์ความอ่อนไหวด้วยอัตราคิดลดและปริมาณของเสียอันตรายต่อครัวเรือน พบว่าลำดับของโครงการที่มีต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุดไม่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามแม่โครงการที่ 1 จะมีต้นทุนต่อหน่วยตํ่าสุด แต่จากข้อมูลการสำรวจครัวเรือนพบว่า มีครัวเรือนที่สนใจเข้าร่วมโครงการที่ 1 เพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ชี่งหมายถึงว่าถ้าดำเนินการตามโครงการที่ 1 จะต้องมีการจัดการกับปริมาณของเสียอันตรายที่ไม่ได้รับการคัดแยกเพื่อมาเข้าร่วมโครงการจำนวนมาก อันนำมาซึ่งผลกระทบภายนอกของของเสียอันตรายที่จะเกิดขึ้น ทางเสีอกที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติน่าจะเป็นโครงการที่ 2 คือโครงการออกรับของเสียถึงหน้าบ้านที่มีต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุดเป็นอันดับ 2 เนี่องจากมีคนสนใจเข้าร่วมโครงการ ถึงร้อยละ 68 ของผู้ตอบแบบสอบถามth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดการของเสีย--ต้นทุนth_TH
dc.subjectการจัดการของเสีย--ไทย--สิงห์บุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลของการจัดการของเสียอันตรายขององค์การบริหารส่วนตำบลค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรีth_TH
dc.title.alternativeCost-effectiveness analysis of hazardous waste management in Kaibangrachan Sub-district Administrative Organization, Singburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are 1) to describe background information and current conditions of Hazardous waste management in Kaibangrachan sub-district administrative organization, 2) to analyze the cost-effectiveness options of hazardous waste management in Kaibangrachan sub-district administrative organization, Singburi province. The data from this study were collected from secondary data; and household survey (by purposive sampling) to gather background information for the cost-effectiveness analysis (CEA) of three possible projects in the management of household hazardous waste, namely 1) the integrated management of household hazardous waste by providing the set of hazardous-waste collection points, 2) the hazardous waste collection at the front of the house; 3) the hazardous waste bank project over 10-years period. The criterion to analyze the appropriate option of the CEA is the lowest per unit-cost option. The sensitivity analysis was performed with the discount rates at 3%, 5%, and 8%, and the rates of hazardous waste generation at 2 kg per household permonth and 3 kg per household per month. The research results found that 1) the household hazardous wastes collected by the Kaibangrachan sub-district administrative organization - were only 30 kgs per month in total, therefore, the remaining untreated wastes in the environment would create negative externalities to society and 2) the project with the lowest unit cost was project no. 1 (the integrated management of household hazardous waste), which varied in cost between 14,231-18,654 baht per ton at 2018 constant price. Sensitivity analysis for discount rates and the rates of the waste generation did not affect the ranking of projects. Even though the project no. 1 was the most cost-effective option, only 10 percent of households in the sample were interested in participating in the project no. 1. If this project was selected to proceed, it would have created the significant negative externalities to society, therefore, the most feasible alternative was probably the project no. 2 because households were interested in participating in the project up to 68 percent of respondentsen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162000.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons