Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2299
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ พันธวิศิษฎ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิ่งกานต์ ดวงเนตร, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-01T08:24:47Z-
dc.date.available2022-12-01T08:24:47Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2299-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สถานการณ์การผลิตลำใยในประเทศไทย 2) วิถีตลาดลำไยในประเทศไทย 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาลำไย และ 4) เพื่อคาดคะเนแนวโน้มราคาลำไย การศึกษาใช้ทั้งวิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ การวิเคราะห์ เชิงปริมาณ ใช้วิธีสมการถดถอยเชิงซ้อนเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาลำไย ที่เกษตรกรขายได้ ซึ่ง เป็นข้อมูลอนุกรมเวลาในช่วงปี พ.ศ. 2546 - 2555 ประกอบด้วย ปริมาณผลผลิตลำไยสด ในปีปัจจุบัน ปริมาณผลผลิตลำไยสดที่ส่งออกในปีที่ผ่านมา และราคาลำไยอบแห้งในปีปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า 1) แนวโน้มผลตอบแทนของการปลูกลำไยที่มีอัตราเพิ่มขึ้นเป็นแรงจูงใจ ให้เกษตรกรทำการผลิตอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตลำไยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2) ลำไยถูกกระจาย ไปสู่ตลาดต่างประเทศมากกว่าตลาดภายในประเทศ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากลำไยเป็น ไม้ผลที่เน่าเสียง่าย ส่งผลให้การจัดการทางด้านการขนส่งทำได้ยากลำบาก ช่องทางการจำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลาง จึงเป็น ช่องทางที่เกษตรกรนิยมมากที่สุดถึงร้อยละ 61 ด้านแนวโน้มราคาลำไยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีลักษณะ ความเคลื่อนไหวของราคาสลับสูงต่ำไปมาในแต่ละปื ดังนั้น เกษตรกรควรให้ความสำคัญการวางแผนการ ผลิตและการปรับกลยุทธ์การตลาด ส่วนการพัฒนาเทคโนโลยีเพึ่อนำมาใช้ในการผลิตลำไย การวางแผน การพัฒนาด้านโลจิสติกส์ และการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ลำไยจึงเป็นมาตรการที่รัฐบาลและผู้เกี่ยวข้อง ควรตระหนักและให้ความสำคัญ เพึ่อรักษาระดับปริมาณผลผลิตให้เพียงพอกับความต้องการ และลด ผลกระทบจากความผันผวนด้านราคา และ 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาลำไย ได้แก่ ปริมาณผลผลิตลำไย สดในปีปัจจุบัน ปริมาณผลผลิตลำไยสดที่ส่งออกในปีที่ผ่านมา และราคาลำไยอบแห้งในปีปัจจุบัน โดย ปริมาณผลผลิตลำไยสดในปีบัจจุบันมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับราคาลำไยสด ส่วนปริมาณ ผลผลิตลำไยสดที่ส่งออกในปีที่ผ่านมาและราคาลำไยอบแห้งในปีปัจจุบันมีความสัมพันธ์ในทิศทาง เดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และ 4) ราคาลำไยสดที่คาดคะเน มีแนวโน้ม ปรับตัวสูงขึ้นสอดคส้องกับราคาลำไยสดในทิศทางเดียวกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectลำไย -- ราคาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาลำไยที่เกษตรกรขายได้th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting sale price of longan's farmth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to investigate (i) current situation of Longan production in Thailand (ii) Longan market trend in Thailand (iii) factors influencing Longan prices and to forecast Longan price movement. Both descriptive and quantitative techniques are employed to validate annual data during 2003 – 2012 on prices of Longan, dried Longan, quantities of Longan sold and exported. The results suggest that the producers have an incentive to produce Lonngan and distribute it to both domestic and foreign markets due to the upward trend of revenues of Longan production. However, Longan is easily rotten goods; consequently, it is not convenient for transportation. Moreover, its prices are volatile. To stabilize Longan prices and balance the quantity of demand and supply, government and stakeholder should consider developing production technology, improving logistic system, and strengthening the quality of Longan. The result of regression indicates that factors affecting Longan sale price consist of the current quantity of Longan, the current price of dried Longan, and the last year quantity of exported Longan. Sale price of Langon is negatively correlated with quantity of Longan while it is positively dependent on the current price of dried Longan and last year quantity of exported Longan, with 95% confidential levelen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140477.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons