Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2303
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกุลวรางค์ วิเศษศาสตร์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-02T02:01:58Z-
dc.date.available2022-12-02T02:01:58Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2303-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการบริโภคของผู้ที่ได้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 2) วิเคราะห์ความโน้มเอียงในการบริโภคหน่วยสุดท้าย และ 3) เปรียบเทียบการบริโภคเฉลี่ยของผู้ที่ได้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิงกับเส้นความยากจนของจังหวัดนครปฐม ปี 2560 และ 4) สำรวจความต้องการสวัสดิการด้านต่างๆของผู้ที่ได้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของเทศบาลเมืองไร่ขิง จานวน 360 ราย ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงปริมาณโดยใช้ไคสแควร์ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว และสมการถดถอยอย่างง่าย ผลการศึกษา พบว่า 1) ผู้สูงอายุมีรายได้รวมเฉลี่ย 10,694.72 บาทต่อคนต่อเดือน มีค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภครวมเฉลี่ยอยู่ที่ 6,827.17 บาทต่อคนต่อเดือน และมีภาระหนี้สินรวมเฉลี่ยอยู่ที่ 6,895.83 บาทต่อคนต่อเดือน 2) ผู้ที่ได้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมีความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภคเท่ากับ 0.638 ความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายในการบริโภคมีค่าเท่ากับ 0.486 โดยมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภครวมต่อเดือน 3) ผู้ที่ได้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง ร้อยละ 61.94 มีค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคสูงกว่าเส้นความยากจน และ ผู้สูงอายุร้อยละ 38.06 มีค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่ำกว่าเส้นความยากจนของจังหวัดนครปฐม และ 4) การสำรวจความต้องการสวัสดิการด้านต่างๆ พบว่า ผู้สูงอายุต้องการให้มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในที่สาธารณะ เช่น ห้องพักสาหรับผู้สูงอายุ/ ทางลาด/ รถเข็น ฯลฯ มากที่สุด รองลงมาคือ ความต้องการการจัดบริการตามบ้าน เพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุในการดำรงชีพ และ ต้องการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ -- ไทย -- นครปฐมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคของผู้ที่ได้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeConsumption behavior of the elderly who receive allowance in the Municipality of Rai Khing, Nakhon Pathom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study are 1) to study the consumption behavior of the elderly pensioners, 2) to analyze the marginal propensity to consume and 3) to compare the average consumption of the elderly pensioners in municipality of Rai Khing and the poverty line of Nakhon Pathom province in 2017, and 4) To survey the various welfare needs of the elderly who receive allowance in municipality of Rai Khing. The study conducted by collecting primary data by using questionnaires as a tool, from a sample group of 360 people who received allowances in the municipality of Rai Khing, by a Stratified Sampling Method with Descriptive Analysis. Statistics used for analyzing data consisted of Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, Chi-square, ANOVA and Simple Regression Analysis. The research results found that 1) The elderly had average incomes at 10,694.72 baht per person per month. The average total expenditure was at 6,827.17 baht per person per month with an average total debt was at 6,895.83 baht per person per month. 2) The elderly had the average propensity to consume (APC) at 0.638, the marginal propensity to consume (MPC) at 0.486, which was in the same direction as the total monthly expenditures. 3) At 61.94 percent of elderly living in the municipality of Rai Khing had higher expenditure for consumption than the estimated poverty line and at 38.06 percent had lower living expenses than the poverty line of Nakhon Pathom province in 2017, and 4) Regarding to the needs for welfare in various areas, the elderly wanted to have these public facilities firstly, such as rooms for the elderly, ramps, wheelchairs and needed for home services (home care) to help them in daily living secondly and also needed volunteers to take care of them respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162025.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons