Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2304
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนีย์ ศิลพิพัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | เกษม พรหมมินทร์, 2498- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-02T02:22:16Z | - |
dc.date.available | 2022-12-02T02:22:16Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2304 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตและการตลาดของลำไยอบแห้งทั้งเปลือกในประเทศไทย และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการส่งออกลำไยอบแห้งทั้งเปลือกของประเทศไทยไปยังประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน การศึกษาใช้ทั้งวิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ การวิเคราะห์ เชิงปริมาณใช้วิธีสมการถดถอยเชิงซ้อนเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการส่งออกลำไยอบแห้งทั้งเปลือก ซึ่งเป็นข้อมูลอนุกรมเวลาในช่วงปี พ.ศ. 2533-2553 ประกอบด้วย ราคานำเข้า C.I.F. ลำไยอบแห้งทั้งเปลือกจากประเทศไทยไปยังประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน รายได้ประชาชาติ จำนวนประชากรและมาตรการที่มิใช่ภาษีศุลกากรของสาธารณรัฐประชาชนจีน ผลการศึกษาพบว่า 1) การผลิตลำไยอบแห้งทั้งเปลือกส่งออกไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนในระยะเริ่มแรกสามารถแก้ไขปัญหาราคาผลผลิตลำไยสดตกต่ำ อันเนื่องมาจากปริมาณผลผลิตลำไยสดออกสู่ตลาดมากเกินไปได้ จึงทำให้เกษตรกรเพิ่มการผลิตโดยการขยายพื้นที่การผลิตเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้เกิดปัญหาผลผลิตล้นตลาดในระยะต่อมา ทั้งลำไยสดและลำไยอบแห้งทั้งเปลือกขึ้นอีก ส่งผลทำให้ราคาลำไยทั้งสองชนิดลดลง รัฐบาลเข้าไปแก้ไขปัญหาโดยการประกันราคา ทำให้รัฐบาลขาดทุนเป็นจำนวนเงินที่มากกว่ารายได้เกษตรกรได้รับเพิ่มขึ้น ในขณะที่เกษตรกรขยายการผลิตโดยการขยายพื้นที่เพราะมีความมั่นใจว่ารัฐบาลเข้ามาการประกันราคาแล้วทำให้ไม่ขาดทุนจากการเพิ่มการผลิต ซึ่งเป็น ผลเสียในระยะยาว ดังนั้นรัฐบาลจึงไม่ควรใช้มาตรการในการแก้ไขปัญหาด้วยการแทรกแซงตลาดที่เป็นการบิดเบือนกลไกตลาด และควรส่งเสริมการผลิตของเกษตรกรให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเพื่อลดต้นทุนการผลิต ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต รวมทั้งอำนวยความสะดวกด้านการตลาด 2) ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการส่งออกลำไยอบแห้งทั้งเปลือกของประเทศไทยไปยังประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน คือ ราคานำเข้า C.I.F. ลำไยอบแห้งทั้งเปลือกจากประเทศไทย โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามและมีนัยสำคัญทางสถิติระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ลำไย--การส่งออก | th_TH |
dc.subject | ลำไย--การตลาด | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์. | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการส่งออกลำไยอบแห้งทั้งเปลือกของประเทศไทยไปยังประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน | th_TH |
dc.title.alternative | Exportation of Thai dried Longan with shell to the People Republic of China | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study: 1) the general situations of production and marketing of dried longan with shell in Thailand; and 2) the factors affecting the quantity of Thai dried longan with shell exportation to The People Republic of China.The study used both descriptive and uantitative analyses. For the quantitative one, a multiple regression was applied to explore factors affecting the quantity of Thai dried longan with shell exportation, including C.I.F. Thai import prices of dried longan with shell to China, national income, population and non-tariff measures ofThe People Republic of China, by using time-serie data during 1990-2010. The findings were as follows.: 1) production of dried longan with shell exported to China could solve the problems of fresh longan price declining owing to an oversupply of longan in the beginning. This resulted in an increase of production of the farmers through rapidly expanding cultivated areas, and oversupplies of both fresh and dried longan with shell in the following period. The government employed price guarantee to help the farmers. However, this measure created negative effects in the longrun because losses of the measure were more than an increase of longan farmers’ incomes, while famers still expanded more production since they belived that the government would support them. Hence, the government should not intervened the market, as market distortion, but should promote production efficiency of farmers for reducing costs of production, as well as quality of products and market facilities. 2) Import prices at C.I.F. of Thai dried longan with shell was the factor affecting the quantity of Thai dried longan with shell exportation to The People Republic of China, with negative direction at statistical ignificant 0.05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128859.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License