Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริพจน์ ทองนวล, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-02T08:06:11Z-
dc.date.available2022-12-02T08:06:11Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2315-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสหกรณ์เครดิตยูเนี่นนนทบุรี จำกัด เกี่ยวกับเรื่อง 1) สภาพทั่ว่ไปของของสกรณ์ 2) ปัจจัย สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องต่อการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ 3) แนวทางการพัฒนาการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ประชากรในการศึกษาคือ คณะกรรมการดำเนินการ 11 คน ผู้ตรวจสอบกิจการ 1 คน และสมาชิก 717 คน โดยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงไดกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้คือ คณะกรรมการดำเนินการ 11 คน ผู้ตรวจสอบกิจการ 1 คน และสมาชิก 16 คน รวมทั้งหมด 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ SWOT การวัดแบบสมดุล (Balanced Scorecard : BSC) สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าน้ำหนักเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 51 - 60 ปี จบระดับมัธยมศึกาตอนปลายหรือเทียบเท่า มีสมาชิกในครอบครัว 1 - 2 คน ผลการวิเคราะห์งบดุลแบบฐานคงที่ และผลการวิเคราะห์กำไรขาดทุนแบบฐานคงที่ โดยใช้ปีบัญชี 2554 มีแนวโนม้เพิ่มสูงขึ้น 2) ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง มีดังนี้ จุดแข็ง ได้แก่ สหกรณ์มีสำนัก งานเป็นของตนเอง มีคณะกรรมการที่เข้มแข็ง มีระบบการบริหารจัดการที่ดี จุดอ่อน ได้แก่ ทุนดำเนินงานของสหกรณ์ไม่เพียงพอ สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่ประจำ ขาดการประชาสัมพันธ์ ปัจจัยที่เป็นโอกาส ได้แก่ หน่วยงานสนับสนุน นโยบายรัฐ กฎหมาย และเทคโนโลยี อุปสรรคได้้ก่ ข่าวสารด้านลบของสหกรณ์ สภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป 3) แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของสหกรณ์ได้มีการจัดทำแผนกลยุทธ์ช่วงเวลาจาก ปี พ.ศ. 2557 ถึง 2559 ตามกรอบแนวคิดการวัดแบบสมดุลทั้ง 4 มุมมอง ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา สำหรับแนวทางการพัฒนาการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์สามารถสรุปได้ 5 แนวทาง ดังนี้ คือ (1) การพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ให้มั่นคงและยั่งยืน (2) การส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนา (3) การพัฒนาข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ อย่างกว้างไกล (4) การร่วมมือกับสหกรณ์, ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ (5) การส่งเสริมการให้บริการที่ดีแก่สมาชิกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนนทบุรี จำกัด--การจัดการth_TH
dc.subjectสหกรณ์เครดิตยูเนียนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนนทบุรี จำกัดth_TH
dc.title.alternativeBusiness operational development guidelines of Nonthaburi Credit Union Cooperatives Ltd.th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study Nonthaburi Credit Union Cooperatives Ltd. concerning 1) the general situations of the cooperatives; 2) environmental factors relating to the cooperatives, and 3) guidelines of the cooperatives’ business development. The population of this research consisted of 11 operational committees, an auditor and 717 members of Nonthaburi Credit Union Cooperatives Ltd. The samples were chosen through purposive sampling, consisting of 11 operational committees, an auditor, and 16 cooperatives’ members, with the total of 28 samples. Data were collected by using a questionnaire and an interview form. The methods for analyzing data were financial statement analysis, content analysis, SWOT analysis, and Balanced Scorecard. Data were statistically analyzed by using percentage, mean, standard deviation, and weight means. The study results found that 1) most cooperatives’ members were male with age of 51 – 60 years, finished higher secondary education or equivalent, had 1-2 family members. The results of fixed balance sheet analysis and fixed profit and loss statement analysis by using the accounting year 2011, showed the trend of increasing. 2) Related environmental factors: the cooperatives, strengths were having its own office building, a strong operational committee, and a good management system; The weaknesses were insufficient working capital, no full time employees, and no public relations work; The opportunities were support agencies, government policy, laws and technology; Threats were negative news stories about the cooperatives and changes in the economy. 3) As an guideline to further develop and improve the cooperatives’ operations, a strategic plan was formed for the years of 2014-2016 by using a four views of balanced conceptual framework which based on finance, customers, inside- process, and learning and developing. Five development approaches were identified, such as (1) strengthening the cooperatives to be stable and sustainable, (2) promoting the learning and development, (3) broader news and information development, (4) cooperation with other cooperatives, the Credit Unions of Thailand, and related organizations, and (5) promote service-mind of members.-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext-144654.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons