Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2325
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวุฒิศักดิ์ รัตนสุภา, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-06T03:57:25Z-
dc.date.available2022-12-06T03:57:25Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2325-
dc.description.abstractการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกที่ขายปาล์มน้ำมันของสหกรณ์ 2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลในการตัดสินใจขายปาล์มน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์ 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะในกาตัดสินใจขายปาล์มนำมันของสมาชิกสหกรณ์นิคมทุ่งสง จำกัด จังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากรที่ศึกษาเป็นสมาชิกสหกรณ์นิคมทุ่งสง จำกัด จังหวัดนครศรีธรรมราช เฉพาะที่ขายปาล์มน้ำมันให้สหกรณ์ โดยศึกษาทั้งหมดจำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช ้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) สภาพทั้วไปของสมาชิกส่วนใหญ่ เพศชาย ช่วงอายุ 36 - 50 ปี การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ช่วยทำการเกษตร จำนวน 2 - 3 คน รายได้จากการขายปาล์มน้ำมันเฉลี่ยต่อปี 60,001-120,000 บาท ระยะเวลาที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ 1-5 ปีระยะทางจากสวนปาล์มน้ำมัน ถึงสหกรณ์อยู่ระหว่าง 1– 8 กิโลเมตร พื้นที่ปลูกทั้งหมดที่เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 10 - 20 ไร่ ผลผลิตปาล์มน้ำมัน ต่อปี ปริมาณต่ำกว่า 30,000 กิโลกรัม ตลาดที่สมาชิกขายปาล์มน้ำมันเป็นประจำ คือสหกรณ์ 2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีผลต่อการตัดสินใจขายปาล์มน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์ โดยรวมอยู่ใน ระดับมากทุกปัจจัย โดยปัจจัยมีผลต่อการตัดสินใจขายปาล์มน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์ในระดับที่สูงเป็นลำดับแรก คือ ปัจจัยด้านราคา รองลงมา คือ ปัจจัยด้านช่องทางการจำหน่าย ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (ปาล์มน้ำมัน) ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับมากตามลำดับ 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะการขายปาล์มน่ำมันของสมาชิกสหกรณ์นิคมทุ่งสง จำกัด โดยมีปัญหาในการขายปาลม์น้ำมันสูงสุด คือ สหกรณ์ให้ราคาปาลม์น้ำมัน ต่ำกว่าของเอกชน รองลงมา คือ ตาชั่งกับลานเทปาล์มน้ำมันอยู่ห่างกัน สหกรณ์คัดปาล์มน้ำมัน ดิบ และในการรับบริการช่วงเย็นรถหนาแน่นเพราะอยู่ใกล้กับโรงเรียน ข้อเสนอแนะในการขายปาล์มน้ำมันของสมาชิกสูงสุดคือ ให้ตาชั่งกับลานเทอยู่ใกล้กัน รองลงมา คือสหกรณ์ไม่ควรหยุด ติดต่อกันหลายวันในช่วงเทศกาล ให้สหกรณ์รับซื้อปาล์มน้ำมัน ตั้งแต่เวลา 08.00 - 18.00 น. และ การแจ้งราคารับซื้อให้สมาชิกทราบล่วงหน้าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectปาล์มน้ำมัน--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยในการตัดสินใจขายปาล์มน้ำมันของสมาชิกสหกรณ์นิคมทุ่งสง จำกัด จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the decision to sell oil palm of members of Nikhom Thuongsong cooperatives Ltd., Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study objectives were to study 1) the general state of cooperative members who sell oil palm; 2) the importance of the marketing mix factors that influence members’ decisions to sell oil palm; and 3) the problems and suggestions concerned with oil palm selling of members of Nikhom Thung Song Cooperatives Ltd., Nakhon Si Thammarat. This research was a survey of 120 members of Nikhom ThuongSong Cooperatives Ltd., in Nakhon Si Thammarat Province, who sold oil palm to the cooperative. The data were collected from all population by using is questionnaire, and the statistieal methods used to analyze the data were frequency, average, standard deviation and content analysis. The study found that 1) most members surveyed were male, 36 – 50 years old, educated to secondary school level, with 2 – 3 household members working as agriculturists. The level of their income from selling oil palm was 60,000 – 120,000 Thai Baht or higher per year. The period of time that they were cooperative members was 1 – 5 years. The distance between their palm plantation and the location of the cooperative was 1 – 8 kilometers. On average, the harvestable area they had planted in oil palm 10 – 20 rai (1 rai = 1,600 m2). The average yield of palm was not more than 30,000 kilograms per year. The members regularly sold their oil palm to the cooperative. 2) Overall, every marketing mix factor had a high level of influence affecting members’ decision to sell their oil palm to the cooperative. The factor that had the highest level of influence was price, followed by distribution channel, product (oil palm) and promotion, in that order. 3) The problems listed by members were that first, the price for oil palm paid by the cooperative was less than that paid by private sector buyers; the location of the weighing scales was too far from the oil palm storage area; the cooperative did not accept unripe kernels; and traffic in the area was a problem in the evening because the sales point is located near a school. The members’ main suggestions were that the scales should be located closer to the oil palm storage area, the cooperatives should not close for a long time during holidays, the cooperative should be open for purchase from 08.00 am to 6.00 pm, and the cooperative should inform the members of the oil palm price in advance.-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext-148426.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons