Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2339
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorระวีวรรณ มาลัยวรรณth_TH
dc.contributor.authorชนิชา เจริญนาน, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-06T07:31:06Z-
dc.date.available2022-12-06T07:31:06Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2339en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะทั่วไปของการออมของครัวเรือนของ ประเทศไทย และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการออมของครัวเรือนของประเทศไทย การศึกษาใช้ข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับ เงินออมในรูปเงินฝากของครัวเรือนที่ธนาคาร พาณิชย์ รายได้พึงจับจ่ายใช้สอย รายได้จากทรัพย์สิน อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี ของธนาคาร พาณิชย์ และอัตราเงินเฟ้อ จากธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งเป็นข้อมูลอนุกรมเวลารายปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523–2552 วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสมการถดถอยพหุคูณ ประมาณค่าพารามิเตอร์ของตัวแปรต่างๆ ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด การศึกษาการออมครั้งนี้ใช้เฉพาะปริมาณเงินฝากของครัวเรือนที่ธนาคารพาณิชย์เท่านั้น ผลการศึกษาพบว่า 1) การออมของภาคครัวเรือนไทยอยู่ในระดับต่ำ กล่าวคือค่าความโน้ม เอียงของการออมหน่วยสุดท้ายเท่ากับ 0.004 และมีแนวโน้มในภาพรวมลดลงสาเหตุเนื่องจากการลด ของการออมสุทธิภาครัฐบาลภาคครัวเรือน และการออมสุทธิภาคครัวเรือนลดลง เนื่องจากสาเหตุ หลายประการ เช่น มีการอุปโภคบริโภคในกลุ่มสินค้าคงทนที่มีราคาสูงเพิ่มขึ้น รัฐมีสวัสดิการเพิ่มขึ้น ทำให้ครัวเรือนลดความจำเป็นที่จะต้องออมเงินสำหรับใช้ในยามจำเป็นและยังมีอุปสรรคและข้อจำกัด ในการเข้าถึงแหล่งเงินออมเงิน 2) ปัจจัยในการกำหนดการออมของครัวเรือนไทยที่ธนาคารพาณิชย์ที่ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ รายได้พึงจับจ่ายใช้สอย และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี โดยรายได้พึงจับจ่ายใช้สอยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับปริมาณเงินฝากของภาคครัวเรือนที่ ธนาคารพาณิชย์ ส่วนอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับปริมาณ เงินฝากจากภาคครัวเรือนที่ธนาคารพาณิชย์ สำหรับค่าความโน้มเอียงของการออมหน่วยสุดท้ายตาม ทฤษฎีการออมที่สัมพันธ์กับรายได้สัมบูรณ์ของเคนส์ มีค่าเท่ากับ 0.004th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออม -- ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการออมของครัวเรือนในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting household saving in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of the study were to: 1) study the general situation of household savings in Thailand; and 2) analyze the factors affecting household savings in Thailand. This study used yearly time series secondary data during 1980-2009. The data comprised household commercial bank deposits, disposable personal income, property income, one-year fixed deposit interest rate of commercial banks, and inflation rate collected from Bank of Thailand and Office of the National Economic and Social Development Board . The study employed a regression model and the Ordinary Least Square (OLS) method to analyse and estimate parameters. The household saving in the study was only focused on commercial bank deposits. The study results showed that: 1) household saving in Thailand was generally at low level which the marginal propensity to save (MPS) was 0.004, and its trend broardly declied because of an decrease in both government and household net savings. These occured from various factors such as an increase in consumption on expensive durable goods of people, an increase in government welfare, and the limitation of the sources of savings accesability. 2) Factor affecting household savings in Thailand, at the 0.05 statistical significant level, were disposable personal income and one year fixed deposit interest rate. The first revealed positive relationship with household deposits at commercial banks. The second disclosed the opposite sign with the deposits. Regarding marginal propensity to save (MPS) according the Keynes’ theory of saving relative to absolute income its value was 0.004.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128317.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons