Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/233
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติมา สัจจานันท์th_TH
dc.contributor.authorอัมรินทร์ แก้วกองทรัพย์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-04T08:14:39Z-
dc.date.available2022-08-04T08:14:39Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/233en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สถานภาพทางวิชาชีพของบรรณารักษ์ (2) สภาพการพัฒนาทางวิชาชีพ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาทางวิชาชีพ (4) ความต้องการการพัฒนาทางวิชาชีพ และ (5) แนวทางการพัฒนาทางวิชาชีพของบรรณารักษ์ สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ประชากร คือ บรรณารักษ์สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จํานวน 40 แห่ง รวมจํานวนทั้งสิ้น 247 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด และได้แบบสอบถามกลับคืนมา จํานวน 218 ชุด (ร้อยละ 88.26) และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านวิชาชีพ จํานวน 10 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง และได้แบบสอบถาม กลับคืนมา จํานวน 8 ชุด (ร้อยละ 80) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามบรรณารักษ์ และแบบสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิ การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) บรรณารักษ์ส่วนใหญเป็นเพศหญิง จํานวน 192 คน (ร้อยละ 88.10) มีอายุ 31-35 ปี จํานวน 64 คน (ร้อยละ 29.40) มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีบรรณารักษศาสตร์/สารนิเทศศาสตร์/ สารสนเทศศาสตร์ จํานวน 190 คน (ร้อยละ 87.20) มีสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย จํานวน 157 คน (ร้อยละ 72) รับผิดชอบงานวิเคราะห์หมวดหมู่และทํารายการ จํานวน 88 คน (ร้อยละ 40.40) และระยะเวลาที่ทํางานในตําแหน่งบรรณารักษ์ 1-5 ปี จํานวน 71 คน (ร้อยละ 32.60) (2) บรรณารักษ์ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทางวิชาชีพเพื่อเพิ่มพูนความรู้ จํานวน 205 คน (ร้อยละ 94.0) และนํามาใช้พัฒนางาน จํานวน 204 คน (ร้อยละ 93.6) โดยรูปแบบการใช้สื่อสังคมออนไลน์ จํานวน 198 คน (ร้อยละ 90.80) (3) ปัญหาและอุปสรรคในการ พัฒนาทางวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยรวมระดับปานกลาง ( = 3.13) โดยทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( = 3.56) (4) บรรณารักษ์ต้องการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพในระดับมาก ( = 3.74) โดยรูปแบบการศึกษาดูงาน ( = 4.20) และต้องการพัฒนาทางวิชาชีพในหัวข้อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานห้องสมุด ( = 4.10) จัดโดยสถาบันอุดมศึกษา และ (5) แนวทางการพัฒนาทางวิชาชีพที่เหมาะสมสําหรับบรรณารักษ์ ประกอบด้วย รูปแบบ หัวข้อ และสถาบันที่จัดกิจกรรมการพัฒนาทางวิชาชีพบรรณารักษ์ บทบาทของบรรณารักษ์ บทบาทของ ผู้บริหารห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา และสมาคม/องค์กรวิชาชีพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.6en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบรรณารักษ์--การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.subjectบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา--การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.titleการพัฒนาทางวิชาชีพของบรรณารักษ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏth_TH
dc.title.alternativeProfessional development of librarians, Office of Academic Resource and Information Technology, Rajabhat Universitiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.6-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) investigate the professional status of librarians,(2) to survey librarians’ professional development, (3) to study problems and obstacles to professional development facing librarians, (4) to survey the needs for professional development, and (5) to examine guidelines for professional development of librarians of the Office of Academic Resources and Information Technology, Rajabhat Universities.The research participants were 247 librarians from 40 offices of Academic Resources and Information Technology at Rajabhat Universities (218 or 88.26% were returned) and 10 professional experts selected by purposive sampling (8 copies of the questionnaire or 80.00 % were returned). Thedata were collected using a questionnaire and analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis, and presented descriptively with tables. Findings showed that (1) most librarians 192 were women (88.10%); 64 women werebetween 31 to 35 years old (29.40%); 190 librarians (87.20%) had a bachelor's degree in Library Scienceor Information Science; 157 librarians (72.00%) were university staff; 88 librarians (40.40 %) wereresponsible for classifying and cataloguing library resources; and 71 librarians (32.60%) had worked aslibrarians for 1-5 years. (2) The objective of 205 librarians (94.00%) was to improve their Knowledge and204 librarians (93.60%) to develop their work; 198 librarians (90.80%) would like to do it through onlinelearning. (3) Problems and obstacles in their working were found at an average level (X=3.13) with thehighest mean on foreign language skills (X =3.56). (4) Librarians’ need for professional development wasat a high level (X =3.74) with the highest mean on the form of study trip (X=4.20). The area participantsneeded to develop the most was information storage and retrieval, hosted by academic institutions (X=4.11). (5) Guidelines suggested for librarians’ professional development should consist of models, titles, and the institutes that organize activities for librarians’ professional development, roles oflibrarians, roles of library administrators, universities and professional associations/organizations.en_US
dc.contributor.coadvisorจันทิมา เขียวแก้วth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150104.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons