Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2347
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขวัญตา บุญงาม-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-07T02:46:59Z-
dc.date.available2022-12-07T02:46:59Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2347-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกในการใช้บริการสินเชื่อ 2) รูปแบบการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิก 3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการใช้ บริการสินเชื่อ 4) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการใช้บริการสินเชื่อจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับการใช้บริการสินเชื่อ และ 6) ข้อเสนอแนะที่มีต่อการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิกสหกรณ์ ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูฉะเชิงเทรา จำกัด จำนวน 4,947 คน โดย ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 370 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแตกต่างโดยใช้สถิติ ทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว เชฟเฟ่ และสถิติทดสอบไคสแคว์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกที่ใช้บริการด้านสินเชื่อส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 56 - 65 ปีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี/เทียบเท่าอาชีพข้าราชการ สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยรวมต่อเดือน ระหว่าง 15,001 - 25,000 บาท และมีรายจ่ายเฉลี่ยรวมต่อเดือนระหว่าง 15,001 - 25,000 บาท 2) รูปแบบ การใช้บริการด้านสินเชื่อ ส่วนใหญ่ใช้บริการสินเชื่อเงินกู้สามัญวงเงิน ระหว่าง 100,000 –500,000 บาท ได้รับ การอนุมัติตามวงเงินที่ขอกู้และกู้เพื่อการใช้จ่ายใช้จ่ายอื่นๆ มีความถี่ในการใช้บริการมากกว่า 1ครั้ง/ปี 3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสำคัญต่อการใช้บริการสินเชื่ออยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อจำแนกรายปัจจัยที่ สำคัญ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบุคคล และด้านกายภาพ ตามลำดับ ส่วนด้านส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับ มาก 4) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมการตลาดจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า สมาชิกที่มีระดับการศึกษา รายได้และรายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือนที่ต่างกัน มีการใช้บริการสินเชื่อที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับการใช้บริการสินเชื่อ พบว่าตำแหน่งมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้ บริการสินเชื่อทั้งด้านประเภทสินเชื่อสามัญ วงเงินและความถี่ของสินเชื่อฉุกเฉิน และรายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการสินเชื่อพิเศษและวงเงินสินเชื่อฉุกเฉิน ส่วนรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์ กับการใช้วงเงินสินเชื่อฉุกเฉิน ส่วนความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับการใช้บริการสินเชื่อพบว่า ด้านราคา มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการสินเชื่อสามัญ ความถี่การใช้สินเชื่อฉุกเฉิน และความถี่การใช้ สินเชื่อสามัญ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 6) ข้อเสนอแนะของสมาชิกที่สำคัญ คือ สหกรณ์ควรเปลี่ยนแปลงในเรื่อง ของการให้นำผู้ค้ำประกันและคู่สมรสมาเซ็นต์สัญญาค้ำประกันที่สหกรณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์ครูฉะเชิงเทราth_TH
dc.subjectสินเชื่อth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการใช้บริการสินเชื่อของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูฉะเชิงเทรา จำกัดth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting members' decisions to use the credit service of Chachoengsao Teacher Savings and Credit Co-operative Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) the personal factors of members of Chachoengsao Teacher Savings and Credit Co-operative Limited who used the cooperative’s credit services; 2) the ways they used the credit services; 3) the level of importance of marketing mix factors influencing members’ decisions to use the credit services; 4) a comparison of marketing mix factors influencing members’ decisions to use the credit services, divided by personal factors; 5) the relationships between personal factors, marketing mix factors, and members’ use of the credit services; and 6) suggestions for improving the cooperative’s credit services. The study population was the 4,947 members of Chachoengsao Teacher Savings and Credit Co-operative Limited. A survey was made of a sample size of 370 members. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, and standard deviation. Differences were analyzed using t test, Scheffe’s test and chi square. The results showed that 1) The majority of cooperative members who used credit services were female, age in the range 56-65, married, educated to bachelor’s degree level or the equivalent, government employees, with mean income of 15,001-25,000 baht a month and mean expenses of 15,001-25,000 baht a month. 2) The majority used the credit service of ordinary loans in the amount 100,000-500,000 baht. They received a loan of the amount that they requested. Their main reason for taking out a loan was for other expenses. They used the service more than one time a year. 3) The marketing mix factors that had the greatest influence on the members’ decision to use the credit union’s credit services, in order of importance, were product, personnel, and physical factors. The factor of promotion also had a high level of importance. 4) Divided by personal factors, it was found that members with different educational level, monthly income and monthly expenses used the cooperative’s credit services differently, to a statistically significant level (p<0.05). 5) The personal factor of position was related to the members’ used of ordinary loan service, the amount of loans, and frequency of use of emergency loan service. The personal factor of expenses per month was related to the members’ use of the special loan service and the amount of emergency loans. The personal factor of income per month was related to members’ use of emergency loans. For marketing mix factors, a statistically significant relationship was found between the factor of price and the members’ use of the ordinary loan service, frequency of use of the emergency loan service and frequency of use of the ordinary loan service. 6) The members’main suggestion for improving the credit union’s loan services was to change the requirement of having the loan guarantor and loan recipient’s spouse go in to sign the formsen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145746.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons