Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2368
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เรวดี จรุงรัตนาพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ณิชนันทน์ รัตน์ไทรแก้ว, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-08T02:59:11Z | - |
dc.date.available | 2022-12-08T02:59:11Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2368 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการออม และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อ การออมของข้าราชการและลูกจ้าง สังกัดกรมการปกครองในจังหวัดนครปฐม โดยการวิเคราะห์ ปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมการออม และปัจจัยทางจิตวิทยาของข้าราชการและลูกจ้าง สังกัด กรมการปกครองในจังหวัดนครปฐม การศึกษาข้อมูลปฐมภูมินี้ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่าง ทั้งหมด 100 ราย การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาโดยใช้สถิติเบื้องต้นและการวิเคราะห์สมการ ถดถอยด้วยแบบจำลองโทบิตในการหาปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณเงินออมของบุคคล ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการออมของเจ้าหน้าที่กรมการปกครองจังหวัด นครปฐมร้อยละ 80 มีการออมเงิน และร้อยละ 20 ไม่มีการออมเงิน โดยเงินออมเฉลี่ยต่อครัวเรือน อยู่ที่ 8,920 บาทต่อเดือน ระยะเวลาการออมเฉลี่ย 11.59 ปี ซึ่งร้อยละ 43.8 ออมเงินแยกตาม วัตถุประสงค์ แหล่งเงินฝากส่วนใหญ่คือ ธนาคาร และ 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณเงินออมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ รายได้ และปัจจัยด้านจิตวิทยา ได้แก่ การออมเงินแบบแบ่งบัญชีในใจ การ ควบคุมตนเอง และพฤติกรรมความเสี่ยง โดยรายได้ส่งผลต่อปริมาณเงินออมในทางบวก บุคคลที่มี การออมเงินแบบแบ่งบัญชีในใจมีโอกาสออมเงินมากกว่าคนที่ออมเงินเป็นก้อนเดียวและคนที่ไม่ ออมเงิน คนที่ไม่สามารถควบคุมตัวเองมีแนวโน้มที่จะมีเงินออมน้อยกว่าคนที่ควบคุมตัวเองได้ และคนที่กลัวความเสี่ยงมีแนวโน้มที่จะมีเงินออมสูงกว่าคนที่ชอบความเสี่ยง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี. | th_TH |
dc.subject | ข้าราชการ -- การเงินส่วนบุคคล | th_TH |
dc.subject | การประหยัดและการออม | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการออมของบุคคล: กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่กรมการปกครองจังหวัดนครปฐม | th_TH |
dc.title.alternative | Determinants of personal saving behavior: a case study of Local Government Officials in Nakhon Pathom Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study are: 1) to study the saving behavior, and 2) to examine the determinants of the individual saving behavior for both the socioeconomic factors and psychological factors. The survey was conducted by using a questionnaire as a tool to collect data on saving behavior. The total samples in this study were 100. The standard statistics was applied to analyse the survey data. Further, the Tobit regression was estimated to examine the determinants of the individual saving behavior. The results from the research revealed that: 1) 80% of the respondents reported that they had savings. Average saving is about 8,920 baht per month and average saving period is approximately 11.59 years, 43.8 percent of respondents saved by purposes (Mental accounting). The main source of individual savings is commercial banks. 2) The determinants of saving behavior include individual income and psychological factors, which are mental accounting self-control behavior and risk preference. The study showed the relationship between income and saving was positive. Individuals who save with a mental accounting have higher saving than those who have saving in a lump-sum amount and the ones who have no savings. For those who do not have self-control behavior tend to have less saving than the ones who have self-control behavior. Risk-averse individuals are likely to have higher saving than risk-lovers. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
152087.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License