Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ พันธวิศิษฎ์th_TH
dc.contributor.authorนิชาภา เทพนากิจ, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-13T02:29:49Z-
dc.date.available2022-12-13T02:29:49Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2404en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรที่ยากจนมาก ในจังหวัดพะเยา 2) พฤติกรรมการก่อหนี้ของเกษตรกรที่ยากจนมากในจังหวัดพะเยา 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ความสามารถในการชำระหนี้ ของเกษตรกรที่ยากจนมากในจังหวัดพะเยา และ 4) ปัจจัยที่มีผลต่อหนี้สินของ เกษตรกรที่ยากจนมากในจังหวัดพะเยา การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วยครัวเรือนเกษตรกรที่ ยากจนมากในจังหวัดพะเยา จำนวน 90 ครัวเรือน โดยสุ่มตัวอย่างแบบจัดชั้นในช่วงปีพ.ศ. 2552 วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) หัวหน้าครัวเรือนเกษตรมีอายุเฉลี่ย 57.62 ปี ส่วนใหญ่สำเร็จชั้น ประถมศึกษา สถานภาพสมรส มีจำนวนสมาชิกเฉลี่ย 4.52 คนต่อครัวเรือน ครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ย เท่ากับ 52,667.11 บาทต่อปี มีรายจ่ายเฉลี่ยเท่ากับ 42,906.67 บาทต่อปี มีอาชีพรับจ้างทั่งไปเป็นอาชีพรอง มีหนี้สินกับ กองทุนหมู่บ้าน และร้อยละ 82.73 มีหนี้สินจำนวนไม่เกิน 20,000.- บาทต่อครัวเรือน 2) การก่อหนี้ของเกษตรกรมีสาเหตุจากที่มีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย และมีผู้ป่วยที่ต้องรักษาประจำ แหล่งเงินกู้ส่วนใหญ่มาจาก ญาติพี่น้อง เนื่องจากสะดวกรวดเร็ว และสามารถขอผ่อนผันได้ สำหรับกรณีที่ไม่สามารถชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ได้ ครบทุกรายพร้อมกันได้ ครัวเรือนเกษตรกรเลือกที่จะชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ที่ไม่ใช่เครือญาติก่อน 3) ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความสามารถในการชำระหนี้ของเกษตรกร ได้แก่ จำนวนสมาชิกในครัวเรือน จำนวนสมาชิกใน ครัวเรือนที่เป็นภาระ จำนวนสมาชิกครัวเรือนมีผู้ป่วยที่ต้องรักษาเป็นประจำ หนี้สิน ความสามารถในการขาย ผลผลิต และสถานภาพของหัวหน้าครัวเรือน โดยปัจจัยทั้งหมดนี้สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงความสามารถใน การชำระหนี้ของเกษตรกร ได้ร้อยละ 39.1 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และ 4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการก่อหนี้สินของ เกษตรกร ได้แก่ รายจ่ายรวมต่อปีของครัวเรือน รายจ่ายประจำวัน และรายจ่ายการรักษาพยาบาลสมาชิกของ ครัวเรือนที่เจ็บป่วย ปัจจัยเหล่านี้สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงหนี้สินของเกษตรกร ได้ร้อยละ 47.3 ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเกษตรกร -- การเงินth_TH
dc.subjectการกู้ยืมส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectเงินกู้ส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อหนี้สินของเกษตรกรที่ยากจนมากในจังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeFactors affectings ultra poor farmer's debt in Phayao Province.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) social and economic conditions of ultra poor farmers in Phayao province; 2) debt leverage behaviours of ultra poor farmers in Phayao province; 3) factors affecting the debts payment ability of ultra poor farmers in Phayao province; and 4) factors affecting the liability of ultra poor farmers in Phayao province. This study was a survey research. The sample used in the study were 90 ultra poor farm households in Phoyao province, and they were selected through stratified sampling method. The data were analysed via both descriptive and quantitative analysises. For the quantitative method, a multiple regression technique was applied. The results of the study were as follows: 1) the head of household farmers were 57.62 years on average, married status, elementary school completed and they had 4.52 family members on average. They also worked as general employees for their additional incomes, earned annual average income at 52,667.11 baht, and spent annual average expenses at 42,906.67 baht. Most of them owed liabilities with villagefund, and 82.73 percent owed not more than 20,000 baht per household. 2)The liability behavior of ultra poor farmer as a result of their insufficient incomes to cover the expenses in daily life, and chronic illness in their family members. Most of them owed debt with their relatives because of convenience, rapidity, and the abatement of debt repayment. Whenever they were unable to pay for their debts to every creditor in the same time they firstly decided to pay non-relative lenders. 3)Factors affecting the debts payment ability of ultra poor farmers consisted of more family member burden, chronic illness, number of household members, the ability of output selling, and the status of household head, at 0.05 statistically significant level. These factors could explain 39.1 percent of the change in debts payment ability of the poor farmers. 4) Factors affecting the liability of ultra poor farmers comprised total annual household expenses, high routine household expenses, and the burden of family member healthcare, at 0.05 statistically significant level. These factors could explain 47.3 percent of the changes in the liability of poor farmers.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130936.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons