Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/243
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์th_TH
dc.contributor.authorบุษบา บุญศรี, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-05T02:08:42Z-
dc.date.available2022-08-05T02:08:42Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/243-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคลที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสมาชิกพรรคไทยรักไทยเขตเลือกตั้งที่ 2 ชังหวัดลำพูน (2) ความคิดเห็นของสมาชิกพรรคไทยรักไทยเขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดลำพูนเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมือง (3) การมีส่วนร่วมทางการเมืองในประเด็นลักษณะและรูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสมาชิกพรรคไทยรักไทยเขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดลำพูน (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคล และความคิดเห็นของสมาชิกพรรคไทยรักไทยเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสมาชิกพรรคไทยรักไทย เขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดลำพูน ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ขณะที่กลุ่มที่มีจำนวนมากที่สุด อายุ ระหว่าง 26-35 ปีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือตํ่ากว่าอาชีพรับจ้างทั่วไปรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 3,000 บาทหรือตํ่ากว่า และ 3,001 - 5,000บาท ระยะเวลาการเข้าเป็นสมาชิกพรรค 5 ปีขึ้นไป เหตุผลที่เข้าเป็นสมาชิกพรรคเพราะชอบนโยบายพรรค (2) กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (3) กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง (4) กลุ่มตัวอย่างมีรูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมือง ด้านการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งระดับปานกลาง ต้านการพูดจาปรึกษาเรื่องการเมืองระดับตํ่า ด้านการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ทางการเมืองระดับตํ่า ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมพรรคการเมืองระดับตํ่ามาก ด้านการออกเสียงเลือกตั้งระดับสูง ด้านการยื่นข้อเสนอระดับตํ่ามาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ระดับการศึกษาอาชีพ ระยะเวลาการเข้าเป็นสมาชิกพรรค มีความสัมพันธ์กับลักษณะการมีส่วนร่วมทางการเมือง อาชีพรายได้เฉลี่ยต่อเดือน และระยะ เวลาการเข้าเป็นสมาชิกพรรค มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมือง ขณะที่ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองก็มีความสัมพันธ์กับลักษณะและรูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.267-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพรรคไทยรักไทยth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสมาชิกพรรคการเมือง : ศึกษากรณีสมาชิกพรรคไทยรักไทย เขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativePolitical participation of political party members : a case study of Thai Rak Thai Party members in the second constituency of Lamphun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.267-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) personal factors affecting political participation of Thai Rak Thai party members in the second constituency of Lamphun province; (2) Thai Rak Thai party members’ opinions toward the roles of the party in the second constituency of Lamphun province; (3) characteristics and pattern of political participation of Thai Rak Thai party members in the second constituency of Lamphun province; and (4) relationships between personal factors as well as opinions toward the roles of the party, and political participation of Thai Rak Thai party members in the second constituency of Lamphun province. Research findings were as follows: (1) The majority of the sample was females; while the largest group was the one with 26-35 years of age, with educational level of primary education or lower, with occupation as hired labors, with monthly incomes of 3,000 baht or lower and 3,001 - 5,000baht, with party membership duration of more than 5 years, and with the stated reason for joining the party being their preference for the party. (2) The overall opinions toward the roles of political party was at a moderate level. (3) The overall political participation was a the high level. (4) Regarding the sample’s political participation pattern, the aspect of election campaign was rated at a moderate level; the aspect of political dialog was rated at a low level; the aspect of contact with political officers was rated at a low level; the aspect of voting in political party activities was rated at a very low level, the aspect of voting was rated at a high level, and the aspect of political negotiation was rated at a very low level.Findings from hypothesis testing showed that the educational level, occupation, and party member ship duration correlated with political participation characteristics; occupation, average monthly income, and party membership duration correlated with political participation pattern; while opinions toward the roles of political party correlated with both characteristics and pattern of political participation.en_US
dc.contributor.coadvisorประพนธ์ เจียรกูลth_TH
dc.contributor.coadvisorเสนีย์ คำสุขth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100828.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons