กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2455
ชื่อเรื่อง: ความต้องการฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมของทหารกองประจำการ สังกัดกรมต่อสู้อากาศยาน หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน กองบัญชาการยุทธทางอากาศความต้องการฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมของทหารกองประจำการ สังกัดกรมต่อสู้อากาศยาน หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The agricultural training needs of Airmen, Directorate of Air Defense, Security Forec Command, Air Combat Command
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา
สุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษา
ศิระ ต่วนกระโทก, 2504-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์
กรมต่อสู้อากาศยาน หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
ทหารอากาศ--ความต้องการการฝึกอบรม
เกษตรกรรม
วันที่เผยแพร่: 2549
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของทหารกองประจำการ (2) ความต้องการฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรม ของทหารกองประจำการ (3) เปรียบเทียบความต้องการฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมของทหารกองประจำการ ที่มีลักษณะพื้นฐานบางประการต่างกัน ผลการวิจัยพบว่าทหารกองประจำการ มีอายูเฉลี่ย 21.52ปี เกือบสองในสามจบมัธยมศึกษาตอนต้น มีรายได้ก่อนเป็นทหารกองประจำการเฉลี่ย 6,589.62 บาท/เดือน เกือบทั้งหมดไม่ได้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และไม่เคยเป็นสมาชิกกสุ่มที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร ไม่ถึงครึ่งหนึ่ง ที่มีพื้นที่ถือครองเป็นของพ่อแม่หรือของตนเอง ได้รับความรู้ทางการเกษตรจากสื่อบุคคล และสื่ออื่นๆ สูงกว่าสองในสามไม่เคยเข้ารับการสกวิชาชีพ มากกว่าหนึ่งในสามเล็กน้อยมีความคาดหวังว่าประกอบอาชีพรับข้างหลังจากปลด ประจำการ ทั้งนี้ทหารกองประจำการ ฯ เกือบทั้งหมดต้องการเพิ่มพูนความรู้ด้านเกษตรกรรม โดยส่วนใหญ่ต้องการหลักสูตรการสกอบรมระยะสั้น ทหารกองประจำการ ฯ โดยเฉลี่ยต้องการสกอบรมสาขาช่างเกษตรในภาพรวมในระดับค่อนข้างมาก แต่ต้องการสกอบรมในสาขาพืช สัตว์และการแปรรูปและถนอมอาหาร ใน ภาพรวมในระดับปานกลาง และจากการเปรียบเทียบความต้องการฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมของทหารกองประจำการที่มีลักษณะพื้นฐานบางประการต่างกัน พบว่า ทหารกองประจำการที่มี อายุ และระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความต้องการสกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรม สาขาพืช สาขาสัตว์ สาขาช่างเกษตร สาขาการแปรรูปและถนอมอาหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2455
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
97310.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.26 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons