Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/246
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี ล้ำสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสำรวย กมลายุตต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนภารัตน์ พุ่มพฤกษ์, 2509-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-05T02:37:17Z-
dc.date.available2022-08-05T02:37:17Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/246-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา (2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา และ (3) ปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคกลาง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคกลาง 9 แห่ง ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2558 สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของจํานวนนักศึกษาแต่ละมหาวิทยาลัย รวมจํานวน 354 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการเปรียบเทียบรายคู่ ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคกลางโดยรวมใช้สื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทตํารา วิทยานิพนธ์ และรายงานการวิจัยในระดับมากที่สุด และใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภท วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย (ThaiLIS) และฐานข้อมูล ProQuest Dissertation Full Text ในระดับมากที่สุด (2) การเปรียบเทียบการใช้สารสนเทศ นักศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยใช้สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือและเอกสารวิชาการ ไม่มีความแตกต่างอยางมีนัยสําคัญ ที่ระดับ 0.05 แต่การใช้สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารวิชาการ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ประเภทวิทยานิพนธ์ หนังสือ และวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 สําหรับการเปรียบเทียบรายคู่ มีการใช้หนังสืออ้างอิง วารสารวิชาการ วิทยานิพนธ์ และรายงานการวิจัย แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาของนักศึกษา ในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศจากสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราช ภฏภาคกลาง ที่สําคัญ คือ เนื้อหาทรัพยากรสารสนเทศไม่ตรงกับความต้องการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎภาคกลางth_TH
dc.title.alternativeInformation use for study and research by master's students in the field of educational administration at Rajabhat Universities in the Central Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to develop an academic librarians’ research competency framework. Documentary analysis, an interview, and a questionnaire were used to collect data. Informants for the first group comprised 20 key persons and researchers, and for the second group 43 academic directors, faculty members, librarians and researchers. The research instruments employed comprised a data recording form, an interview form, and a questionnaire. Data were analyzed using content analysis, percentage, mean and standard deviation. Research findings showed that core research competency of academic librarians was composed of three dimensions which were ranked based on their rating means as follows: research acquisition and services ( X = 3.94), uses of research results ( X = 3.84), and the research conduct dimension ( X = 3.80). The rating mean for each dimension was at the high level. Each dimension was composed of altogether 31 items. Ten items received rating mean at the highest level. Of these 10 items, nine items were under research acquisition and services, while one item was under the research conduct dimension. These items were ranked based on their rating means as follows: reference and information services for researchers ( X = 4.77), the selection of information resources to support research work ( X = 4.72), retrieval of both printed and electronic research ( X = 4.65), services on reference citation ( X = 4.63), information organization to facilitate researchers’ access and usage, with the same score as the information sources consultation service to support research ( X = 4.60), research service via new media based on researchers’ needs ( X = 4.58), research design, with the same score as the provision of appropriate research service design ( X = 4.56), and consultation service on copyright and researchers’ code of ethics ( X = 4.53)en_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151243.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons