Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2475
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชฎาพร เลิศโภคานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | ปารดา นาเจิมทอง, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-21T07:48:06Z | - |
dc.date.available | 2022-12-21T07:48:06Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2475 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารออมสิน เขตอ่างทอง และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารออมสิน เขตอ่างทองข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิที่ได้รวบรวมจากรายงานผลการดำเนินงานของธนาคารออมสิน เขตอ่างทอง รายงานประจำเดือน รายงานประจำไตรมาส จากธนาคารออมสินภาค 14 รายงานประจำปีของธนาคารออมสิน เพื่อใช้วิเคราะห์เชิงพรรณนาในส่วนของสภาพทั่วไปของการดำเนินการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย และผลการดำเนินงานด้านสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารออมสินเขตอ่างทอง และในส่วนของปัจจัยที่มีผลต่อการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารใช้ข้อมูลอนุกรมเวลารายไตรมาส ในช่วงปี 2548 ถึง 2554 ทำการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) การให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารออมสิน เขตอ่างทอง มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับปริมาณการให้สินเชื่อรวมของธนาคาร โดยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยมีปริมาณที่ลดลงในขณะที่สินเชื่อรวมเพิ่มขึ้น เนื่องจากปัญหาอุทกภัยในปี 2549 และปี 2554 ที่ทำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ประชาชนขอกู้สินเชื่อเพื่อลงทุนประกอบอาชีพและเพื่อการดำรงชีพเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปริมาณการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารมีปริมาณที่ลดลง 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารออมสิน เขตอ่างทอง ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 ที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวยกัน ได้แก่ ดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดอ่างทอง ปริมาณการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารในช่วงไตรมาสก่อนหน้า และปริมาณเงินฝากรวมของธนาคาร สำหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางตรงกันข้าม คือ ปริมาณการให้สินเชื่อรวมของธนาคาร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ธนาคารออมสินเขตอ่างทอง | th_TH |
dc.subject | สินเชื่อที่อยู่อาศัย--ไทย--อ่างทอง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารออมสินเขตอ่างทอง | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting Government Saving Bank's housing loans, Ang Thomg area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to study: 1) the general conditions of housing loans of Gorvnment Savings Bank, Ang Thong area; and 2) factors determining housing loans of the bank in Ang Thong area. The study employed descriptive analysis to explore the general conditions of housing loans and the performance of the bank’s housing loans by using secondary data gathered from the bank’s annual report, quarterly reports of the Government Savings Bank, Region 14, and the annual report of the Government Savings Bank. A multiple regression analysis was also applied to investigate the factors affecting housing loans of the bank by using quarterly time series data during 2005 to 2011. The results of the study were as follows. 1) The bank’s housing loans showed negative relationship with the bank’s total credits. The former decreased while the latter increased due to the flooding in 2006 and 2011. This problem leaded to economic depression, and more demand for career investment and survival credits, but less demand for housing loans. 2) Factors affecting the bank’s housing loans, at the 95% confidence level, which had positive relationship with the loan comprised consumer price index in Ang Thong area, previous quarter housing loan, and the total bank’s deposits. The bank’s housing loans was founded negatively relation with the previous quarter bank’s housing loan. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
132846.pdf | 2.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License