Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2481
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พนิดา นันต๊ะหน้อย, 2528- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-22T01:59:02Z | - |
dc.date.available | 2022-12-22T01:59:02Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2481 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล สภาพสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (2) แหล่งความรู้ ความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน และความรู้เรื่องศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนของสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานของสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (4) ระดับการปฏิบัติการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานของสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (5) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานของสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (6) ปัญหาและข้อเสนอแนะของสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ กลุ่มเกษตรกรในโครงการศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน จังหวัดพะเยา ทั้งหมด 270 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างจานวน 162 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายตามสัดส่วนของประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป ใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรมากกว่าครึ่งหนึ่งเป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 51.93 ปี จบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มากที่สุด มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.94 คน มีขนาดพื้นที่ทำการเกษตร เฉลี่ย 18.17 ไร่ ประกอบอาชีพหลัก คือทำนา มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน 12,312.65 บาท (2) เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รับความรู้จากแหล่งความรู้อยู่ในระดับปานกลาง และมีความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน และความรู้เรื่องศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ช่วยให้ได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ (3) เกษตรกรส่วนใหญ่มีการปฏิบัติการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน อยู่ระดับมาก (4) เกษตรกรส่วนใหญ่มีปัญหาในการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในด้านความรู้อยู่ในระดับ ปานกลาง เช่นเดียวกับปัญหาในด้านการปฏิบัติ (5) ข้อเสนอแนะของเกษตรกร คือ ต้องการให้มีการอบรมให้ความรู้กับสมาชิกศูนย์เกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืชอย่างต่อเนื่อง โดย ให้เจ้าหน้าที่มาอบรมและพาออกไปปฏิบัติงานในพื้นที่ที่เกิดการระบาดของศัตรูพืช และต้องการงบประมาณสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง (6) ตัวแปรอิสระได้แก่ ความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน และจานวนสมาชิกในครัวเรือน มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานของสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน จังหวัดพะเยา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.148 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ศัตรูพืช | th_TH |
dc.title | การจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานของสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน จังหวัดพะเยา | th_TH |
dc.title.alternative | Integrated pest management by members of community pest management center in Phayao Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.148 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study fundamental social and economic state of members of a community pest management center in Phayao Province; (2) to study their knowledge sources, their knowledge of the integrated pest management, and their knowledge of the community pest management center; (3) to study their opinions on the integrated pest management; (4) to study the level of their integrated pest management in practice; (5) to study factors affecting their integrated pest management; and (6) to study their problems and suggestions on the integrated pest management. The population in this study was 270 farmers in a project on the community pest management center in Phayao Province. 162 samples were selected by using simple random sampling methodology adhering to the proportion of the population. The data were collected by using questionnaires. The statistical methodology used to analyze the data by computer programs were frequency, percentage, maximum value, minimum value, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The findings of this study were as follows: (1) more than a half of the studied farmers were female, with average age at 51.93 years. They were educated at lower primary level most. The average number of their household members was 3.94 persons. The average size of their agricultural area was 18.17 Rai. Their main occupation was doing rice farming. Their average income was 12,312.65 Baht/month/family. (2) most of the studied farmers had been transferred knowledge from knowledge sources at medium level. They had the knowledge of integrated pest management and the community pest management center at the highest level. And they had opinions on the integrated pest management at the highest level because it made them consume food which was safe for their health. (3) the integrated pest management in practice of most of the studied farmers was at high level. (4) most of the studied farmers had problems on the integrated pest management both in theory and in practice at medium level. (5) the studied farmers suggested that they should have been trained in the pest management continuously by agricultural officials, they should have had field studies in the area that was faced with pest spreading, and they should have been supplied with sufficient budgets continuously. And (6) it was found that their knowledge of the integrated pest management and the number of their household members were correlated with their integrated pest management in practice. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
146054.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License