Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2482
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ พันธวิศิษฎ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพจนารถ บุตรเสรีชัย, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-22T02:05:42Z-
dc.date.available2022-12-22T02:05:42Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2482-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร เจ้าของสวนยางในพื้นที่จังหวัดนครพนม 2) วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกยางพาราของ เกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในพื้นที่จังหวัดนครพนม และ 3) วิเคราะห์ความอ่อนไหวของโครงการผลิต ยางพาราในพื้นที่จังหวัดนครพนม การวิเคราะห์ครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เกษตรกรผู้ปลูกยางพาราที่จำหน่าย ผลผลิตแล้วจำนวน 390 รายโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย และข้อมูลทุติยภูมิจากสำนักงานกองทุน สงเคราะห์การทำสวนยาง โดยใช้หลักเกณฑ์การตัดสินใจในการลงทุน 3 ตัวชี้วัด คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราผลตอบแทนภายในของการลงทุน และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรที่ปลูกยางพาราส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.77 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา เป็นเกษตรกรชาวสวนยางขนาดเล็ก มีพื้นที่ปลูกยาง 1-10 ไร่ และ มีประสบการณ์ในการปลูกมาแล้ว 6-10 ปี 2) การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินในการปลูก ยางพาราระยะเวลา 20 ปี โดยแบ่งกลุ่มขนาดเกษตรตัวอย่างออกเป็น 4 กลุ่ม การผลิตยางพาราขนาดสวน 1-10 ไร่ ขนาด 11-20 ไร่ ขนาด 21-30 ไร่ และขนาด 31 ไร่ขึ้นไปพบว่า มีผลตอบแทนคิดเป็นมูลค่าปัจจุบัน สุทธิ อัตราคิดลดร้อยละ 7 ณ ปี 2557 เท่ากับ 20,812.46 20,886.71 20,388.82 และ 20,839.76 บาทต่อไร่ ตามลำดับอัตราผลตอบแทนภายในของการลงทุนเท่ากับ ร้อยละ 15.71 15.86 15.90 และร้อยละ 15.85 ตามลำดับ และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนเท่ากับ 1.25 1.25 1.24 และ 1.25 ตามลำดับ 3) ผลการ วิเคราะห์ความอ่อนไหวภายใต้เงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงด้านผลตอบแทนและต้นทุนปลี่ยนแปลงด้านใด ด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้านพร้อมกัน ร้อยละ 10 พบว่า มูลค่าปัจจุบัน สุทธิมีค่าเป็นบวก อัตราผลตอบแทน ภายในของการลงทุนมีค่าสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยที่ตลาดกำหนด และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนมีค่า มากกว่าหนึ่ง ดังนั้นการลงทุนผลิตยางพารามีความอ่อนไหวต่อการลงทุนในระดับต่ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectยางพารา -- การปลูก -- อัตราผลตอบแทนth_TH
dc.subjectยางพารา -- การปลูก -- ต้นทุนและประสิทธิผลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกยางพารา : กรณีศึกษาจังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of the costs and returns of rubber : a case study of Nakhon Phanom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is 1) to study social and economic status of agriculturists who are owners of rubber plantation in Nakhon Phanom area. 2) to analyze the cost and returns from growing rubber by farmers in Nakhon Phanom area. 3) to analyze the sensitivity of rubber plantation project in Nakhon Phanom area. This analysis used questionnaire as a tool, the statistics used in data analysis were composed of frequency, percentage and average. Primary data were collected from interviewing 390 agriculturists growing the rubber tree and had already sold the produces by simple random sampling, and secondary data were collected from the Office of the Rubber Replanting Aid fund. The decision making principles in investment were done by using 3 indexes: the net present value, internal rate of return in investment, and benefit- cost ratio. The result of this study found that 1) the majority of agriculturists who grow rubber tree are males with the average age at 49.77 years old. They finished at elementary education level, are small rubber farmers with 1-10 rai in area, 6-10 years in experience. 2) The costs and returns in growing rubber tree for 20 years were analysed by dividing agriculturist sample sizes into 4 groups of rubber production: 1-10 rai, 11-20 rai, 21-30 rai, and 31 rai up. It was found that the rate of return of net present value at 7 percent of discount rate was equal to 20,812.46, 20,886.71, 20,388.82 and 20,839.76 Baht per rai respectively, the internal rate of return of investment was equal to 15.71, 15.86, 15.90 and 15.85 percent respectively, and the benefit cost ratio was equal to 1.25, 1.25, 1.24 and 1.25. 3) The result of sensitivity analysis under the changing conditions of either the costs and/or returns at 10 percent was that the net present value was positive, the internal rate of return was higher than the interest rate fixed by the market and the benefit cost ratio exceeded one. Therefore the investment in rubber plantation was sensitive to the investment at lower levelen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148724.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons