Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐth_TH
dc.contributor.authorภักดี มะนะเวศ, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-23T03:53:31Z-
dc.date.available2022-12-23T03:53:31Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2505en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการประกอบธุรกิจวิทยุกระจายเสียง ของประเทศไทย 2) วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางด้านการตลาด ด้านเทคนิค และด้านการเงินของการลงทุนการประกอบธุรกิจวิทยุกระจายเสียงระบบดิจิทัลในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลการศึกษาใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือการวิจัยเพื่อสัมภาษณ์ผู้ประกอบการให้ได้ข้อมูลในด้านรายรับรายจ่ายของการประกอบธุรกิจวิทยุกระจายเสียงระบบดิจิตอล และใช้การประเมินเชิงปริมาณด้วย มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน อัตราผลตอบแทนภายในและระยะเวลาคืนทุนผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพการประกอบธุรกิจวิทยุกระจายเสียงของประเทศไทยมีสถานี วิทยุระบบ FM แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ดาเนินการโดยส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่จา นวน 300 สถานี และกลุ่มสถานีวิทยุทดลองออกอากาศจา นวน 5,000 สถานี ทั้งนี้ การมีสถานีวิทยุจา นวนมากทา ให้เกิดปัญหาการรบกวนการใช้งานคลื่นความถี่ระหว่างกัน อย่างมาก 2) การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางด้านตลาดของธุรกิจวิทยุกระจายเสียงระบบดิจิทัลพบว่า มีจุดแข็งในเรื่องของคุณภาพเสียงที่ดีขึ้น ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น และมีบริการช่องและเนื้อหารายการที่หลากหลายขึ้น ด้วยต้นทุนที่ต่า ลง และมีการใช้งานทรัพยากรคลื่นความถี่ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นส่วนทางด้านเทคนิคพบว่า ย่านคลื่นความถี่วิทยุที่เหมาะสมคือ VHF Band III ตั้งแต่ 174 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 230 เมกะเฮิรตซ์ และเทคโนโลยีวิทยุดิจิทัลที่เหมาะสม ใช้เทคโนโลยี DAB+ ซึ่งมีจุดเด่นในเรื่องให้คุณภาพเสียงที่ดี ทนทานต่อสัญญาณรบกวน สาหรับการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินพบว่า มี ความเป็นไปได้ โดยมูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 14,078,805 บาท อัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับร้อยละ 23.39 อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนเท่ากับ 1.35 เท่า และระยะเวลาคืนทุนคิดลด 5.46 ปี จะเห็นได้ว่าการลงทุนประกอบธุรกิจวิทยุกระจายเสียงระบบดิจิตอลดังกล่าวมีความเป็นไปได้ทางการเงินด้วย ดังนั้น ภาครัฐจึงควรมีความชัดเจนในเชิงนโยบายและการสนับสนุนอุตสาหกรรมนี้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยุกระจายเสียง--ไทย--การลงทุนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนประกอบธุรกิจวิทยุกระจายเสียงระบบดิจิทัลในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeFeasibility study of the digital radio broadcasting business investment in Bangkok Metropolitan Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) study the radio broadcasting business in Thailand 2) analyze feasibility of market, technique, and finance of the digital radio broadcasting business investment in Bangkok Metropolitan Region. The study used the interview as the research tool to interview the radio broadcasters to collect the data of the income and expenses of the digital radio broadcasting business and used the quantitative evaluation of Net Present Value (NPV), Benefit-Cost Ratio (BCR), Internal Rate of Return (IRR), and Discounted Payback Period (DPB). The results of the study indicated that: 1) the study of the radio industry of Thailand showed that the FM radio stations consisted of 2 categories include main FM radio stations, which have operated by the government sectors, state enterprises, and government agencies about 310 stations and the trial FM radio stations about 5,000 stations. The high number of the FM radio stations caused the frequency interference among their stations, which is considered as the serious problems, 2) the marketing feasibility study of the Digital Radio Broadcasting Business found that the strengths consisted of better voice quality, more coverage area, more varieties of contents with the decreasing cost and higher frequency spectrum utilization; the technical feasibility study found that the appropriated frequency is VHF Band III from 174 – 230 MHz with DAB+ technology. The advantages of this technology are better voice quality and better signal interference tolerance; and the financial analysis found that the financial feasibility is feasible, which the net present value (NPV) was 14,078,805 Baht, Internal Rate of Return (IRR) was 23.39 % and the discount payback period (DPB) was 5.46 years. This showed that the digital radio broadcasting business investment is financially feasible too. Therefore, the government should have clear policies and support this industry.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161935.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons