Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2528
Title: ธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับผลได้ต่อขนาด : กรณีศึกษาบิ๊กซี ซุปเปอร์เซ็นเตอร์
Other Titles: The big retailers and returns to scale : a case of Big C Supercenter
Authors: สมศักดิ์ มีทรัพย์หลาก, อาจารย์ที่ปรึกษา
รจเรศ งะสมัน, 2520-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
บิ๊กซีซุปเปอร์เซ็นเตอร์
การค้าปลีก
การศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์
Issue Date: 2552
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการดำเนินธุรกิจของบิ๊กซี ชุปเปอร์เซ็นเตอร์ ถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดข้อได้เปรียบด้านต้นทุน (2) ศึกษาการดำเนินธุรกิจของบิ๊กซี ชุปเปอร์เซ็นเตอร์ มีผลก่อให้เกิดผลได้ต่อขนาด (3) ศึกษาปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดผลได้ต่อขนาด (4) ศึกษากลยุทธ์ ในการดำเนินธุรกิจของบิ๊กซี ชุปเปอร์เซ็นเตอร์ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งรวบรวมมาจาก งบการเงิน บิ๊กซี ชุปเปอร์ เซ็นเตอร์ เอกสารทางวิชาการ งานวิจัยต่าง ๆ โดยศึกษาการดำเนินธุรกิจของ บิ๊กซี ชุปเปอร์เซ็นเตอร์ ระหว่างปี พ.ศ. 2542 2552 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ใช้สถิติการวิเคราะห์ถดถอยในรูปสมการลอการิทีม ของคอบ-สักลาส ผลการศึกษาพบว่า (1) การดำเนินธุรกิจของบิ๊กซี ชุปเปอร์เซ็นเตอร์ มีปัจจัยด้านแรงงานเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดข้อได้เปรียบด้านต้นทุน (2) การดำเนินธุรกิจของบิ๊กซี ชุปเปอร์เซ็นเตอร์ มีผลก่อให้เกิดผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้น 8339.90 (3) ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดผลได้ต่อขนาดมีสองปัจจัย คือ ปัจจัยด้านที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และปัจจัยด้านแรงงาน มีความสัมพันธ์กับปริมาณการผลิตในลักษณะแปรผันตรง โดยที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้เดิม (4) ในการดำเนินธุรกิจของบิ๊กซี ชุปเปอร์เซ็นเตอร์ ใช้กลยุทธ์ด้านราคา ในการค้าปลีก
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2528
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118951.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons