Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2561
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorอำนาจ ทองอร่าม, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-03T07:00:28Z-
dc.date.available2023-01-03T07:00:28Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2561en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการจัดการศึกษารูปแบบทวิศึกษาตามความคิดเห็นของครูและผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 และ (2) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษารูปแบบทวิศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูในโรงเรียนที่จัดการศึกษารูปแบบทวิศึกษา 8 โรงเรียนๆ ละ 10 คน จำนวนทั้งสิ้น 80 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วยผู้บริหาร หัวหน้างานวิชาการ หัวหน้างานหลักสูตร หัวหน้างานทะเบียนและวัดผล หัวหน้างานแนะแนว หัวหน้างานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เจ้าหน้าที่งานทวิศึกษาและครูผู้สอน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดการศึกษารูปแบบทวิศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สภาพปัจจุบันในการจัดการศึกษารูปแบบทวิศึกษา ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยขั้นตอนการสำเร็จการศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาเป็นการกำหนดหลักสูตรสถานศึกษาและการวัดและประเมินผล ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการศึกษารูปแบบทวิศึกษา พบว่าภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด โดยพบว่า ขั้นตอนการสำเร็จการศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาเป็นการประกันคุณภาพหลักสูตรและการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ และ (2) ความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษารูปแบบทวิศึกษาของโรงเรียน พบว่า ขั้นตอนการประกันคุณภาพหลักสูตรมีค่าความต้องการจำเป็นมากที่สุด รองลงมาเป็นการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ และการวิเคราะห์ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน โดยขั้นตอนการกำหนดหลักสูตรสถานศึกษามีความต้องการจำเป็นน้อยที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดการศึกษา--ไทยth_TH
dc.subjectระบบการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการจัดการศึกษารูปแบบทวิศึกษาตามความคิดเห็นของครูและผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21th_TH
dc.title.alternativeEducational management under the dual education model as perceived by teachers and school administrators in schools under the Secondary Education Service Area Office 21en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the current condition and expected condition of the educational management under the dual education model as perceived by teachers and school administrators in schools under the Secondary Education Service Area Office 21; and (2) to study the needs for educational management under the dual education model in schools under the Secondary Education Service Area Office 21. The research sample comprised 80 purposively selected school personnel from 8 schools that managed education under the dual education model, each of which consisting of 10 school personnel classified into school administrator, head of academic work section, head of curriculum work section, head of evaluation and record work section, head of guidance work section, head of student development activity work section, one staff member of dual education work section, and three classroom teachers. The employed research instrument was a questionnaire on educational management under the dual education system, with reliability coefficient of .99. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and PNImodified. Research findings showed that (1) the rating mean of the overall current condition of the educational management under the dual education model was at the high level, with the rating mean for the finishing education step being at the top, followed by the rating mean for the school-based curriculum determination step, and that for the measurement and evaluation step, respectively; on the other hand, the rating mean of the overall expected condition of the educational management under the dual education model was at the highest level, with the rating mean for the finishing education step being at the top, followed by the rating mean for the curriculum quality assurance step, and that for the professional standard evaluation step, respectively; and (2) regarding the needs for educational management under the dual education model, it was found that the curriculum quality assurance step had the need with the highest priority, followed by the professional standard evaluation step, and the analysis of types of subjects, disciplines and works; while the curriculum determination step had the need with the lowest priority.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons