Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรวดี จรุงรัตนาพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิสนุญ์ ชอบธรรม, 2528- ผู้แต่ง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-03T08:08:32Z-
dc.date.available2023-01-03T08:08:32Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2567-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดนนทบุรี โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี 2) วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของการกำจัดขยะมูลฝอย ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี ข้อมูลจากการศึกษานี้รวบรวมจากข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลทุติยภูมิจากงานวิจัยในอดีตและข้อมูลต่างๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน ของทางเลือกที่เป็นไปได้ในการกำจัดขยะมูลฝอย 3 ทางเลือก ได้แก่ ทางเลือกที่ 1 เทคโนโลยีฝังกลบ แบบถูกหลักสุขาภิบาล (สถานการณ์ปัจจุบัน) ทางเลือกที่ 2 เทคโนโลยีเตาเผาร่วมกับเทคโนโลยีฝังกลบ แบบถูกหลักสุขาภิบาล และทางเลือกที่ 3 เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะร่วมกับเทคโนโลยีฝังกลบ แบบถูกหลักสุขาภิบาล และทดสอบความอ่อนไหวของผลการศึกษาด้วย (1) อัตราคิดลด (ร้อยละ 3 ร้อยละ 5 และ ร้อยละ 8) (2) การเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยร้อยละ 20 (3) ราคาที่ดินที่ใช้เป็น พื้นที่ในการฝังกลบเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 และ (4) อายุการใช้งานของเครื่องจักรสั้นลงซึ่งส่งผลต่อ ต้นทุนการซ่อมบำรุงเครื่องจักรเพิ่มขึ้น ผลการศึกษา พบว่า 1) การจัดการขยะมูลฝอยในสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่ศึกษามีจัดการด้วยเทคโนโลยีฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล และ 2) ผลการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า ทางเลือกที่ 3 เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะร่วมกับเทคโนโลยีฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล ให้ผลตอบแทนสุทธิมากที่สุด โดยมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ 18,527 – 21,332 ล้านบาท ณ ราคาคงที่ พ.ศ. 2561 ตามอัตราคิดลดที่แตกต่างกัน และผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวทั้ง 3 ตัวแปร พบว่า ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงลำดับทางเลือกแต่อย่างใด การที่ทางเลือกที่ 3 จะมีความเป็นไปได้มากขึ้น จึงควรส่งเสริมให้มีมาตรการสร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะตั้งแต่ระดับครัวเรือนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์คุณค่า (การควบคุมต้นทุนการผลิต)th_TH
dc.subjectการกำจัดขยะ -- ไทย -- นนทบุรีth_TH
dc.subjectขยะ -- ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของการกำจัดขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe cost-benefit analysis of solid waste management in Nonthaburi Provincial Administrative Organizationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are 1) to study information of municipal solid waste management in Nonthaburi Provincial Administrative Organization and 2) to conduct the cost-benefit analysis of solid wastes management in Nonthaburi Provincial Administrative Organization. The data used in this study were collected from primary data by interviewing related officers as the key informants and secondary data were collected from related research. The cost- benefit analysis (CBA) was used as a tool to compare the three policy options of solid waste management over 20 years period; namely sanitary landfill (status quo), the incinerator and Sanitary Landfill, and the refuse derived fuel (RDF) and sanitary landfill. The parameters for the sensitivity analysis were (1) discount rates (3 %, 5 %, and 8 %); (2) the increasing rate of solid waste generation by 20 % per year; (3) the increasing land price of sanitary landfill by 30%; and (4) the decreasing lifetime of machinery and equipment leading to the higher maintenance costs. The results of this study reveal that 1) the current solid waste management (status quo) in the study area is the sanitary landfill and 2) the results of the costbenefit analysis of solid wastes management shows that Option 3the Refuse Derived Fuel (RDF) and Sanitary Landfill, provides the highest net benefits. The present values of the net benefits of Option 3 vary between 18,527 - 21,332 million baht at the 2018 constant price with different discount rates. The sensitivity tests for those three parameters has no effect of the ranking of the options. To promote the possibility of Option 3 the waste segregation campaign to encourage people in the community to segregate their waste before disposal is neededen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161995.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons