Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2569
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทศเทพ เทศวานิช-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-03T08:23:15Z-
dc.date.available2023-01-03T08:23:15Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2569-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของการดำเนินงานสหกรณ์การเกษตร โครงการหลวงแม่โถจํากัด จังหวัดเชียงใหม่และ 2) ประเมินผลการดำเนินงานสหกรณ์การเกษตรโครงการหลวง แม่โถจํากัดจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรในการศึกษาคือสมาชิกของสหกรณ์กรรมการดำเนินการ และฝ่ายจัดการ ทั้งหมด โดย เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิด้วยแบบสอบถาม และข้อมูลทุติยภูมิจากรายงานกิจกการประจำปี และรายงาน งบการเงิน ปี 2554 ปี 2553 และปี 2552 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) สภาพทั่วไปสหกรณ์ได้รับการจัดตั้งและมีการดำเนินงานมาตั้งแต่ ปี 2550 ปัจจุบันมีสมาชิก 49 คน กรรมการดำเนินการ 9 คน และฝ่ายจัดการ 2 คน การดำเนินงานสหกรณ์มีกำไรสุทธิทุกปี 2) การประเมินผลการดำเนินงานสหกรณ์โดยเทคนิคการวัดแบบสมดุล มุมมองด้านการเงิน วิเคราะห์จาก อัตราส่วนทางการเงิน พบว่ามีค่าใก้ลเคียงกับอัตราส่วนเฉลี่ยของกรมตรวจบญชีสหกรณ์แต่มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากสหกรณ์มีสินทรัพยหมุนเวียน (เงินฝากธนาคาร) จํานวนมากโดยที่ไม่ได้นําไปลงทุนใหเกิดผลตอบแทน ที่สูงกวาดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร มุมมองด้านลูกค้า สมาชิกในฐานะลูกค้าของสหกรณ์มีระดับความพึงพอใจด้าน ธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการ และด้านนโยบายของสหกรณ์ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.58) แต่ควรเพิ่มประเภทธุรกิจ ตามการประกอบอาชีพของสมาชิกเช่น การรวบรวมหรือแปรรูปผลผลิตการเกษตรที่สมาชิกผลิต มุมมองด้าน กระบวนการภายใน กรรมการดาเนินการและฝ่ายจัดการ มีระดับความสำเร็จในการปฏิบัติงานด้านการให้บริการ ลูกค้า (สมาชิกสหกรณ์) ด้านการดำเนินงานของสหกรณ์และด้านสังคม ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.52) แต่ควรมี การจัดทำแผนกลยุทธุ์เพื่อเป็นทิศทางการดำเนินงานในระยะยาวและ มุมมองด้านการเรียนรู้และการเจริญเติบโต กรรมการดาเนินการและฝ่ายจัดการมีระดับความคิดเห็นในการพัฒนาทักษะ การสร้างขวัญกำลังใจบุคลากร สหกรณ์ด้านนวัตกรรม และการมีระบบสารสนเทศในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.34) แต่ควรสนับสนุนให้มีการ ให้ความรู้และเพิ่มทักษะ ประสบการณ์จากการเข้ารับการอบรม การเขาร่วมประชุมกับหน่วยงานและเครือข่าย สหกรณ์ทั้งในและนอกพื้นที่จังหวัดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--การจัดการth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการประเมินผลการดำเนินงานสหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงแม่โถ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ โดยเทคนิคการวัดแบบสมดุลth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of the Mae Tho Royal Project Agriculture Cooperatives Ltd. Performance, Chiang Mai Province by balanced scorecard techniqueth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to study general state of the performance of the Mae Tho Royal Project Cooperatives Ltd, Chiang Mai Province and 2) to evaluation of the Mae Tho Royal Project Agriculture Cooperatives Ltd. Performance, Chiang Mai Province. The populations were all members of the cooperatives, committee and staff of management section by collecting primary data from questionnaires of members, committee and management section of cooperative and secondary data from annual report and financial report year 2011, 2010 and 2009. Descriptive statistics was applied as percentage, mean and standard deviation. The study results were as follows: 1) the general condition: Cooperatives has been established and operational since year 2007. In 2011 there were 49 members, 9 committees and 2 staffs of management section. The cooperative have net profit in every year. 2) Evaluation of the Cooperative by Balanced Scorecard Technique. Finance perspective when analysis of financial ratios was close to the average ratio of Cooperative Auditing Department but a downward trend because a lot of the co-current assets (Banks) and didn’t apply to returns in investment benefits higher than bank interest. Customer Perspective were the cooperative members have satisfaction with the business, management and cooperative policy in high level (mean 3.58) should be add more business to member such as compile or process of agricultural produce that made from members. Internal Process Perspective committee and management section have the successful implementation of customer service (Cooperatives Members) the cooperatives operation and the social in high level (mean 3.52) should to plan a strategy for long-term strategic direction. Learning and growth Perspective committee and management section have the level of opinion and develop skill. The morale of personal that has innovation cooperative and the medium level for Information technology (mean 3.34) should to support knowledge, skill and experience of the practice or train, meeting with the agencies and cooperative networks both inside and outside the provinceen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128861.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons