Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/256
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริศักดิ์ ศุภมนตรีth_TH
dc.contributor.authorระณัชย์ อาทรธุระสุข, 2476-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-05T06:05:34Z-
dc.date.available2022-08-05T06:05:34Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/256en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ข้อบกพร่อง รวมทั้งหาวิธีแกไขเพิ่มเติม .พระราชบัญญัติว่าด้วย ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540” โดยการศึกษาเปรียบเทียบกบั “Directive 93/13/EEC” ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกบข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของสหภาพยุโรป และมีขอบเขตของการวิจัยโดยมุ่งเน้นศึกษาเฉพาะ “ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม” ในสัญญาระหว่างผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพกบผู้บริโภค (หรือสัญญาผู้บริโภค) เท่านั้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง “สัญญาสําเร็จรูป” หรือ “สัญญามาตรฐาน” การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์จากเอกสารข้อมูลภายในประเทศได้จากตัวบท กฎหมาย ตํารา บทความ และเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของไทย ส่วนข้อมูลของต่างประเทศส่วนใหญ่ได้จากการค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต ผลการวิจัยพบว่า ถึงแม้ “พระราชบัญญัติวาด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540“ มุ่งคุ้มครองผู้บริโภคเป็นสําคัญ แต่ก็ยังขาดแนวความคิดและหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนทั้งในเรื่องของการคุ้มครองผู้บริโภค และการวินิจฉัย ความไม่เป็นธรรมของข้อสัญญา เห็นได้ชัดจากกรณีชาวไร่ ชาวนา ที่ทําสัญญาขายผลิตผลทางการเกษตรของตน ให้แก่พ่อค้าคนกลาง ซึ่งควรได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายฉบับนี้กลับไม่ได้รับการคุ้มครอง และในส่วนของหลักเกณฑ์การวินิจฉัยความไม่เป็นธรรมของข้อสัญญานั้น ก็มิได้บัญญัติในลักษณะที่มีผลชัดเจนว่า ข้อสัญญาใดที่จะถือวาไม่เป็นธรรมนั้นจะต้องไม่เป็นธรรมทั้งในกระบวนการทําสัญญาและในเนื้อหาของข้อสัญญา โดยเฉพาะอยางยิ่ง มิได้บัญญัติรายการตัวอย่างความไม่เป็นธรรมในเนื้อหาของข้อสัญญาให้เพียงพอสําหรับศาลไทยได้ใช้ในการ วินิจฉัยได้อย่างชัดเจน ่ หลังจากศึกษาจึงเสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติฉบับนี้ โดยเสนอให้แยกบทบัญญัติ ออกเป็นสองภาค โดยแยก “สัญญาผู้บริโภค” และ “สัญญาธุรกิจขนาดเล็ก” ออกจากสัญญาอื่นๆ และจัดให้อยู่ในภาคหนึ่ง ส่วนสัญญาอื่นๆ รวมทั้งข้อตกลง ประกาศหรือคําแจ้งความ ความตกลงหรือความยินยอมนั้น ให้อยู่ในอีกภาคหนึ่ง ของพระราชบัญญัติฯ ซึ่งอยู่นอกเหนือขอบเขตของการศึกษาครั้งนี้เนื่องจาก “Directive 93/13/EEC” เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับ “สัญญาผู้บริโภค” โดยตรง จึงควรใช้บทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้ประกอบกับข้อเสนอในรายงาน ของคณะกรรมาธิการฝ่ายกฎหมายของอังกฤษและคณะกรรมาธิการฝ่ายกฎหมายของสกอตแลนด์ เป็นแนวทางในการแก้ไขเพิ่มเติม “พระราชบัญญัติวาด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540” เพื่อให้เกิดความชัดเจนในส่วนของ “สัญญา ผู้บริโภค” และ “สัญญาธุรกิจขนาดเล็ก” และเพียงพอต่อศาลไทยที่จะใช้ในการวินิจฉัยคดีได้อย่างเป็นธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.186en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภค--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectสัญญาth_TH
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมในสัญญาสำเร็จรูปศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายของสหภาพยุโรปth_TH
dc.title.alternativeLegal problems relating to unfair terms in adhesion contracts a study on Thai Law in comparison to European Union Lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.186-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.186en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the flaws and also to find the way for the amendment of the ‘Unfair Contract Terms Act, B.E.2540’. For these purposes, parallel law of the European Union, i.e. ‘Directive 93/13/EEC’ was compared and contrasted. The research was kept within the bounds of the ‘unfair contract terms’ in the contracts between traders or professionals and consumers (or consumer contracts) only, specifically ‘adhesion contract’ or ‘standard form contract This research was a qualitative study based on documentary research. Domestic data were obtained from original legal sources as well as scholarly literatures such as legal articles and legal drafting documents of Thailand, whereas foreign data were collected mainly from internet searching The study revealed that, although the Thai Act aimed mainly at protecting consumers, but it lacked in both clear concepts in consumer protection and also rules for contract term unfairness determination. A distinct example was in the case of farmers, who should be protected when selling farm produces to the middlemen, were not protected at all. And also in the case of unfairness determination, the Act did not set out a statutorily provided clear definition that a contract term regarded to be unfair must be both procedurally and substantively unfair. Especially, its provisions did not contain sufficient examples of substantive unfairness for the Thai Court to enable the determination. Based on the findings, this thesis made the following recommendations. For the amendment of this Act, it was necessary to separate the provisions into two sections. The ‘Consumer Contract’ and the ‘Small Business Contract’ should be in one section; the other types of contracts, and also agreements, notices, etc. should be in the other and were outside the scope of this study. Since ‘Directive 93/13/EEC’ contained provisions setting out solely for consumer protection, it should be used, together with the proposals from the reports of the Law Commission and Scotland Law Commission, as a guidance for the amendment of the ‘Unfair Contract Terms Act, B.E.2540’ in the part of ‘Consumer Contract’ and ‘Small Business Contract’ section, so as to be able to provide clear and sufficient guideline for the Thai Court to enable the determination fairly.en_US
dc.contributor.coadvisorวราภรณ์ วนาพิทักษ์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib152366.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons