Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2585
Title: ปัจจัยที่มีผลต่อจำนวนนักท่องเที่ยวคนไทยในอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Other Titles: Factors affecting number of Thai tourists visiting Hua Hin District Prachuap Khiri Khan Province
Authors: พอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา
ศรีสุดา กิจคุณธรรม, 2509-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
นักท่องเที่ยว -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์
การศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์
Issue Date: 2551
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการท่องเที่ยวและข้อมูลของ นักท่องเที่ยวคนไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ 2) ศึกษา ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดจำนวนนักท่องเที่ยวคนไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวในอำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาและประมวลผลคือสมการถดถอยแบบพทุคูณโดยวิธีกำลัง สองน้อยที่สุด ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลทุติยภูมิ โดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลาในชํวงปี 2540 - 2550 จากหน่วยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจ ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้อมูลของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในอำเภอหัวหิน ชังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีอายูระหว่าง 15-34 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อาชีพส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม นักศึกษาและพนักงาน/ลูกจ้างบริษัท เป็นนักท่องเที่ยวที่มาจากกรุงเทพมหานครมากที่สุด ซึ่งจะ เดินทางมาโดยรถโดยสารประจำทางและรถส่วนตัว และมีวัตลุประสงค์หลักเพื่อท่องเที่ยวหรีอ พักผ่อน นิยมพักตามโรงแรมหรอรีสอรทหรือเกสท์เฮาส์ ใช้ระยะเวลาในการท่องเที่ยวประมาณ 2 วัน ซึ่งสาเหคุที่มาเที่ยว เนี้องจาก มีหาดทรายและนี้าทะเลที่สวยงาม การเดินทางสะดวก ทั้งยังมี ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวไม่มากนัก 2) วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ถึงปัจขัยในการกำหนดจำนวน นักท่องเที่ยว โดยใช้แบบจำลองสมการถดถอยพทุคูณระหว่าง จำนวนนักท่องเที่ยวในปืที่ผ่านมา ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวต่อหัว และจำนวนห้องพัก และพบว่ามีเพียงจำนวนห้องพักที่มี ความสัมพันธ์กับจำนวนนักท่องเที่ยวคนไทยทั้งหมดที่เดินทางมาท,องเที่ยวในทิศทางเดียวกัน โดยมี นัยสำกัญทางสถิติที่ระดับ.05 ส่วนจำนวนนักท่องเที่ยวในปีที่ผ่านมาและค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว ต่อหัวไม่สัมพันธ์กัน 3) วิเคราะห์ความยืดหยู่นของปัจชัยที่มีผลส่อจำนวนนักท่องเที่ยว พบว่า ปีจขัขที่เปีนตัวกำหนดจำนวนนักท่องเที่ยวทั้ง 3 ป็จขัย มีค่าความยืดหยู่นน้อยกว่า 1 ซึ่งแสดงว่า หากมี การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะมีการเปลี่ยนแปลงต่อจำนวนนักท่องเที่ยวไม่ถึงร้อยละ 1
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2585
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128455.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons