Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2591
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จรีลักษณ์ รัตนาพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ศิรินาถ ส่งแสง, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-04T07:23:42Z | - |
dc.date.available | 2023-01-04T07:23:42Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2591 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนวีรนาทศึกษามูลนิธิ ที่มีต่อจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนวีรนาทศึกษามูลนิธิ ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จำแนกตามเพศ และระดับผลการเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนวีรนาทศึกษามูลนิธิสังกัดคณะกรรมการส่งเสริมเอกชน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 169 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย ตามตารางประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ระดับค่าความเชื่อมั่นได้เท่ากับ 0.66 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าความแปรปรวน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนวีรนาทศึกษามูลนิธิ ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โดยรวมและรายด้าน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ ดังนี้ ด้านหลักสูตร ด้านครูผู้สอน ด้านวิธีการสอนด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดและการประเมินผล และ 2 ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนวีรนาทศึกษามูลนิธิ ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ พบว่า นักเรียนที่มีเพศและระดับผลการเรียนต่างกันมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | นักเรียน | th_TH |
dc.subject | ความพอใจ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนวีรนาทศึกษามูลนิธิที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ | th_TH |
dc.title.alternative | Satisfaction of Prathom Suksa V-VI students of Veeranat Suksa Foundation School with instructional management of the Career-Oriented Learning Area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research study were 1) study the satisfaction of elementary students grade V – VI from Veenanatsuksa foundation school in schooling arrangements in students the Satisfaction with Instructional management in the Work Career Learning Area of Prathom Suksa V – VI Students of Veeranat Suksa Foundation School The sample group consisted of 169 elementary students of grade V – VI, Veenanatsuksa foundation school. Students were selected using simple random sampling (Krejcie and Morgan). The tool in this research study was a rating scale with 0.66 accuracy rate. The statistics formulas for data analysis were means, standard deviation, t-test and ANOVA. The results of this research study showed that 1) the overall satisfaction of elementary students grade V – VI from Veenanatsuksa foundation school in schooling arrangements in occupations and technology is "very high", in descending order; course aspect, teacher aspect, teaching method aspect, teaching media aspect and measuring and assessment aspect. 2) gender affect the satisfaction of elementary students grade V – VI from Veenanatsuksa foundation school in schooling arrangements in occupations and technology. However, the school record affects student's satisfaction. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License