Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2606
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมานth_TH
dc.contributor.authorชนากานต์ เรืองอินทร์, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-04T08:41:32Z-
dc.date.available2023-01-04T08:41:32Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2606en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง บทร้อยกรองนิทานพื้นบ้านจังหวัดสุราษฎธานี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง บทร้อยกรองนิทานพื้นบ้านจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษาไทยและด้านการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน จำนวน 3 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง บทร้อยกรองนิทานพื้นบ้านจังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) แบบประเมินคุณภาพหนังสือส่งเสริมการอ่านสาหรับผู้ทรงคุณวุฒิ และแบบประเมินคุณภาพหนังสือส่งเสริมการอ่านสำหรับนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาปรากฎดังนี้ 1) หนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้นเป็นคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11 มีเนื้อหาประกอบด้วย นิทานพื้นบ้านจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 10 เรื่อง มีคำอธิบายศัพท์ และกิจกรรมท้ายเรื่อง และ 2) ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่าหนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้น มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยรวมทุกด้านเท่ากับ 4.66 และนักเรียนมีความคิดเห็นว่าหนังสือส่งเสริมการอ่านมีความเหมาะสมในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวมทุกด้านเท่ากับ 4.32th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหนังสือและการอ่านth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง บทร้อยกรองนิทานพื้นบ้านจังหวัดสุราษร์ธานี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5th_TH
dc.title.alternativeConstruction of reading enhancement book entitled Folktales of Surat Thani Province for Grade 5 studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to 1) construct a reading enhancement book entitled Poetic Folktales of Surat Thani Province for Grade 5 students; and 2) verify quality of the reading enhancement book entitled Poetic Folktales of Surat Thani Province. The informants consisted of three experts on Thai language and on construction of reading enhancements books, and a group of 10 grade 5 students. The instruments employed in this study comprised 1) a reading enhancement book entitled Poetic Folktales of Surat Thani Province; 2) a reading enhancement book quality verification form for the experts and for the students. Statistics used for data analysis were percentage, mean, and standard deviation. Results of the study were as follows: 1) the constructed reading enhancement book was written in the poetic forms of Kap Yani 11; its contents comprised ten stories of folktales of Surat Thani province, each of which was completed with glossary, and end-of-story activities; and 2) results of quality verification of the constructed reading enhancement book by experts were appropriate at the highest level with the total rating mean at 4.66; and by the students were appropriate at the high level with the total rating mean at 4.32.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม27.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons