Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/260
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนฤมล รื่นไวย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุฑารัตน์ บุญมี, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-05T07:17:11Z-
dc.date.available2022-08-05T07:17:11Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/260-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการจัดการความรู้ด้านการดูแล และรักษาสุขภาพของหมอพื้นบ้านจังหวัดนครศรีธรรมราช (2) กระบวนการจัดการความรู้ด้าน การดูแลและรักษาสุขภาพของหมอพื้นบ้าน จังหวัดนครศรีธรรมราช และ (3) ปัญหาการจัดการความรู้ด้านการดูแลและรักษาสุขภาพของหมอพื้นบ้าน จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นหมอพื้นบ้านที่ได้รับการรับรองขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 มาตรา 33 ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จํานวน 10 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบบันทึกข้อมูลจากการสังเกตอยางมีส่วนร่วมและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการจัดการความรู้ด้านการดูแลและรักษาสุขภาพของหมอพื้นบ้านจังหวัดนครศรีธรรมราช มีลักษณะการจัดเก็บความรู้ที่ใช้ในการรักษาโรคจากตําราที่ได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษและไม่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร แต่อยูในความ ทรงจําของตนเอง ส่วนใหญ่มีความชํานาญในการรักษาโรคกระดูก การบีบนวดรักษาโดยการใช้สมุนไพร (2) กระบวนการจัดการความรู้ด้านการดูแลและรักษาสุขภาพของหมอพื้นบ้าน จังหวัดนครศรีธรรมราช เริ่มจากการบ่งชี้ความรู้จากประสบการณ์การรักษา มีการบันทึก ประวัติผู้ป่วยที่มารับการรักษาเพื่อติดตามผล มีการถ่ายทอดความรู้ในครอบครัวและเป็นวิทยากรในการเผยแพร่ความรู้ในการรักษาโรคและการปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหมอพื้นบ้าน (3) ปัญหาการจัดการความรู้ด้านการดูแลและรักษาสุขภาพของหมอพื้นบ้านจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้แก่ การไม่มีเวลามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขาดงบประมาณสนับสนุนและสื่อการสอนเพื่อถ่ายทอดความรู้ไม่เพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.1-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.titleการจัดการความรู้ด้านการดูแลและรักษาสุขภาพของหมอพื้นบ้านจังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeKnowledge management in health care by traditional healers in Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.1-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were as follows: (1) to study the conditions of knowledge management in health care and treatment of folk healers in Nakhon Si Thammarat, (2) to study the process of knowledge management in health care and treatment of folk healers in Nakhon Si Thammarat, and ( 3) to study problems and obstacles of knowledge management in health care and treatment of folk healers in Nakhon Si Thammarat. This research was qualitative in nature. The population of this research was composed of ten folk healers, registered according to the Practice of the Art of Healing Act (B.E. 2542), Section 33. The tool used in data collection was the interview. Descriptive analysis was applied to all data. The findings of the study can be summarized as follows: (1) In terms of the conditions of knowledge management in health care and treatment of folk healers, they have mostly learned and inherited from their ancestors’ experiences without written documents. (2) In terms of the process of knowledge management in health care and treatment of folk healers, it has relied on knowledge sharing from healing experiences, such as treating broken bones, giving herbal massages, sharing knowledge by recording treatment results for evaluation, and training others in healing practices. (3) In terms of problems and obstacles of knowledge management in health care and treatment of folk healers in Nakhon Si Thammarat, there were mainly lack of time, insufficient financial support and lack of teaching materialsen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152063.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons