Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2610
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ กีระพงษ์th_TH
dc.contributor.authorเอกฉัตร ทองเทพ, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-01-05T07:08:46Z-
dc.date.available2023-01-05T07:08:46Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2610en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบยาที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยาในงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร การวิจัยทำในโรงพยาบาลพิบูลมังสาหารระหว่างเดือน ตุลาคม 2559–พฤษภาคม 2560 แบ่งเป็น 3 ระยะ (1) ระยะเตรียมการ ผู้วิจัยศึกษาบริบทของหน่วยงาน ประชุมคณะทำงานต่างๆ และผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบกิจกรรมการพัฒนาและประกาศนโยบาย และกำหนดเป้าประสงค์การพัฒนาความปลอดภัยด้านยางานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน (2) ระยะพัฒนา ทำการพัฒนาระบบยาให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาที่กำหนด ดำ เนินการและประเมินผลตามวงรอบการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนบรรลุเป้าประสงค์ และ (3) ระยะยุติการศึกษา ทำการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนาเพื่อประเมินผลและสรุปการพัฒนา ผลการศึกษาพบว่า ระยะที่ 1 สภาพปัญหาและข้อจำกัดในด้านต่าง ๆ ในบริบทจริงเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานที่เป็นความเสี่ยงให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยา นำมาสู่การยกระดับปัญหาเพื่อแก้ไข ได้แก่การประกาศนโยบาย การสนับสนุนทรัพยากร การกำหนดทิศทางในการพัฒนา และการจัดตั้งทีมพัฒนา ระยะที่ 2กระบวนการบริหารยามีความปลอดภัยโดยเฉพาะการบริหารยาฉีด ระบบสนับสนุนยาภายในงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินที่สารองยาเฉพาะยาที่ต้องใช้กรณีเร่งด่วน จำกัดการเข้าถึงยาเพื่อให้เกิดการตรวจสอบซ้า การบันทึกเวชระเบียนคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์ มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการบริการผู้ป่วยระหว่างงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินและจุดบริการอื่นๆ การขยายผลกิจกรรมคุณภาพจากคลินิกเด็ก ระยะที่ 3 ระบบการปฏิบัติงานสามารถจำกัดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยาระดับถึงตัวผู้ป่วยตามตัวชี้วัดที่กำ หนดใน 4 รอบพัฒนา และไม่เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยาที่เป็นตัวชี้วัดซ้ำภายในระยะเวลา 2 เดือน จึงพิจารณายุติการศึกษาครั้งนี้ อย่างไรก็ตามการศึกษานี้มุ่งจัดการเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ระดับถึงตัวผู้ป่วย แต่ยังพบเหตุการณ์ที่ไม่ถึงตัวผู้ป่วยแต่มีศักยภาพให้เกิดอันตรายรุนแรงได้จึงต้องพัฒนาระบบจากความเสี่ยงดังกล่าวในโอกาสต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบยาเพื่อความปลอดภัยด้านยาในงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลพิบูลมังสาหารth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a medication management system for medication safety in the Emergency Department, Phibun Mangsahan Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis action research aimed to develop a medication system relating to risk of adverse drug events in the Emergency Department at Phibun Mangsahan Hospital during October 2016–May 2017. The study was divided into three phases: (1) Preparation phase – the review of the organization’s context, meetings with various working groups and relevant personnel on development activities, policy announcements, and setting goals for medication safety development in the Emergency Department; (2) Development phase – medication management system development in accordance with the specified development direction, system implementation and system assessment according to the development cycle continuously until the goals were achieved; and (3) Final phase–qualitative data/content analysis and quantitative data analysis with descriptive statistics to evaluate and summarize development efforts. The results revealed that: In Phase 1, the problems and limitations identified in various areas in the real context were operational risks for adverse drug events, resulting in problem resolution efforts, including policy setting, resource support, development direction, and the establishment of a development team. For Phase 2, a safe medication administration process was set up, especially for injectable drugs, including a drug support system with drug storage for the Emergency Department, restricting access to drugs to have a double check, complete computerized medical records, clear service guidelines in the Emergency Department and other service units, and extension of quality activities from the pediatric clinic. In the Final phase, the operational system was able to eliminate adverse drug events according to the defined medication safety indicators in four development cycles and there were no repeated adverse drug events within a 2-month period. Thus, this study was discontinued. However, although this study was aimed at managing adverse drug events that might reach the patients, some of such events were still found. As they did not reach the patients, but had the potential to cause serious harm. Therefore, the system needs to be further developed based on such risks in the future.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons