Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/262
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวันชัย ไพบูลย์อภิบาล, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-05T08:11:59Z-
dc.date.available2022-08-05T08:11:59Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/262-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการป้องกันความเสียหายที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์ และมาตรการทางกฎหมายเชิงป้องกันในการคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศไทย เพื่อ เปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มประชาคมยุโรป ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศญี่ปุ่น และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนามาตรการทางกฎหมายเชิงป้องกันในการคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศไทยที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับในสภาพสังคมในปัจจุบัน งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมาย โดยการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร ซึ่งผู้วิจัย ทําการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลหลักการ และหลักเกณฑ์จากบทบัญญัติกฎหมายไทยและต่างประเทศ หนังสือ บทความ วารสารวิทยานิพนธ์ รวมทั้งขัอมูลเอกสารทางกฎหมายอื่่น ๆ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ คุ้มครองผู้บริโภค และจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานกงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.)และสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อนำมาศึกษาวิเคราะห์ในเชิงเปรียบเทียบ ผลการศึกษาพบว่า เนื่องจากในปัจจุบันที่ความเจริญกาวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเจริญขึ้นมาก ทําให้การผลิตสินค้าของผู้ประกอบการมีการใช้เครื่องมือและเเครื่องจักรที่ทันสมัย และมีกระบวนการผลิตที่สลับซับซ้อน การที่ผู้บริโภคจะตรวจสอบพบว่าสินค้าเหล่านั้นชำรุดบกพร่องนั้นเป็นเรื่องที่กระทำได้ยากเพราะขั้นตอนการผลิตสินค้าที่กว่าจะถึงขั้นตอนการจัดจําหน่าย และส่งถึงมือผู้บริโภคมีมากมายหลายขั้นตอนและสลับซับซัอนทำให้ผู้บริโภคไม่สามารถทราบได้ว่าสินค้านั้นเกิดความไม่ปลอดภัยในขั้นตอนใด อีกทั้งกฎหมายต่างๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นล้วนแต่เป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเยียวยาแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้บริโภค ในกรณีที่ได้เกิดความเสียหายขึ้นแก่ผู้บริโภคขึ้นแล้ว แต่ยังไม่มีกฎหมายใดที่จะสามารถป้องกันเหตุ ล่วงหน้าที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงทำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้บริโภคไม่ได้รับการแก้ไขอย่างตรงจุด ดังนั้นควรที่ ต้องมีมาตรการทางกฎหมายเชิงป้องกันในการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อมาควบคุมการผลิตสินค้าและคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัยอันเกิดจากการใช้สินค้านั้น ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งเป็นแนวคิดใหม่โดยเสนอให้นําระบบการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากการใช้ผลิตภณฑั มาใช้ ซึ่งประยกต์มาจากหลักการของเสาหลักแห่งความก้าวหน้า (Pillars of Progress) ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่าสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการป้องกันความเสียหายที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์ ในการคุ้มครองผู้บริโภคได้โดยมีหลักการที่สําคญ คือให้ภาครัฐเป็นผู้นําในการแก้ไขปัญหาโดยออกมาตรการทางกฎหมาย เพื่อส่งเสริมและสนับสนุ่นในการสร้างความร่วมมือกัน และเพื่อสร้างสมดุลกันของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนของภาครัฐของผู้ประกอบการ ของผู้บริโภคและขององค์การอิสระต่างๆ เพื่อที่จะร่วมมือกันในการแก้ปัญหา และเพื่อหาแนวทางป้องกันความเสียหายที่จะเกิดจากการใช้ผลิตภณฑ์ เพื่อให้เกิดการแก้ไข้ปัญหาได้อย่างยั้งยืน ทั้งนี้ก็ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความคุ้มครองและความปลอดภัยอย่างสูงสุด และยังสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภค -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleมาตรการทางกฎหมายเชิงป้องกันในการคุ้มครองผู้บริโภค กรณีความรับผิดในผลิตภัณฑ์th_TH
dc.title.alternativePreventive measures for consumer protection in product liabilityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to study the concepts and theories regarding the prevention of damage caused by defective products and the legal preventive measures for consumer protection in Thailand compared with the measures of the EU, USA and Japan and to propose the development of existing legal preventive measures for consumer protection in Thailand This thesis is a legal qualitative research conducted based on documentary research regarding the consumer protection from both Thai and foreign sources including laws, text books, articles, journals, theses and information from the related government offices such as the Office of the Consumer Protection Board and the Council of State. According to the study, the high technology and complicated production process have been employed due to the advancement of the current science and technology. The consumers may have difficulties to inspect whether the products are defective because of the complexity of product manufacturing process and distribution. Moreover, the existing laws only allow for consumers recovery and remedy after the damage had occurred but there is no law with an advance preventive concept to protect the consumers. Such concept is needed in order to control the product manufacture and protect the consumers. The researcher proposes a new resolution by applying the system of damage prevention from defective product which is adapted from the Pillars of Progress concept. The researcher believes that such concept could be adapted to prevent the damage caused by the defective products. The main concept of this new resolution is the government should issue the legal measures to support the balance and cooperative of the related parties: government offices, manufacturers, consumers and non-governmental organizations in order to resolve the problem and create measures to prevent the damage caused by defective products. This will protect the consumers and the problem will be effectively resolveden_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib138365.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons