Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2641
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนฤมล คำทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-09T03:05:19Z-
dc.date.available2023-01-09T03:05:19Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2641-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร 2) ความสามารถ ในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร 3) ปัญหาและอุปสรรคในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร และ 4) เปรียบเทียบความแตกต่างของสภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์กับปัญหาและอุปสรรค ต่อความสามารถในการชำระหนี้ ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร ประชากรที่ศึกษาคือ สมาชิกที่เป็นลูกหนี้ของสหกรณ์การเกษตรเมืองตาก จำกัด จำนวน 390 คน กำหนด ขนาดตัวอย่างจำนวน 200 ราย โดยใช้สูตรทาโร ยามาเน่ย์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติทดสอบทีและ การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษา พบว่า 1) สมาชิกที่กู้ยืมเงินสหกรณ์ส่วนใหญ่เพศชาย อายุอยู่ในช่วงระหว่าง 51 – 60 ปี การศึกษาระดับประถม สถานภาพสมรสและอยู่ด้วยกัน จำนวนสมาชิกในครัวเรือน 4 คน ระยะเวลาการเป็นสมาชิกของ สหกรณ์ น้อยกว่า 5 ปี จำนวนบุตรที่ต้องส่งเรียนหนังสือในปัจจุบันส่วนใหญ่ไม่มี และไม่มีภาระที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดา ญาติพี่น้อง ปัจจุบันไม่มีภาระหนี้สินนอกระบบ มีรายได้เฉลี่ยของครอบครัวต่อเดือนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30,000 บาท 2) สมาชิกส่วนใหญ่ กู้เงินระยะสั้นและใช้บุคคลค้ำประกันเงินกู้ ส่วนใหญ่ใช้เงินกู้ตามวัตถุประสงค์มากกว่าร้อยละ 70 เมื่อนำเงินกู้ไปใช้แล้วมีพนักงานสหกรณ์ได้ออกไปตรวจสอบการใช้เงินกู ้ ส่วนใหญ่สมาชิกจะได้รับใบเตือนหนี้ให้ไป ชำระในรอบปี 1 ครั้ง ส่วนการติดตามเร่งรัดหนี้ในปี ที่ผ่านมาไม่ได้รับ สาเหตุที่ไม่สามารถชำระหนี้เงินกู้ให้แก่สหกรณ์ สาเหตุมาจากประสบภัยธรรมชาติ และประกอบอาชีพขาดทุน 3) ปัญหาและอุปสรรคในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ การเกษตร ได้แก่ ด้านที่เกิดจากสมาชิกสหกรณ์อยู่ในระดับน้อย ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายในการซื้อปัจจัยการผลิตต่าง ๆ (ค่าปุ๋ย) ด้านที่เกิดจากเจ้าหน้าที่สหกรณ์อยู่ในระดับน้อยที่สุด ส่วนใหญ่ ไม่ได้รับการบริการทำเรื่องขอกู้เงินใหม่ทันที หลังจากรับชำระหนี้แล้ว ด้านที่เกิดจากผลผลิตได้รับความเสียหาย เนื่องจากภัยธรรมชาติอยู่ในระดับปานกลาง โดยส่วน ใหญ่เกิดจากฝนแล้ง และด้านที่เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ อยู่ในระดับน้อย ส่วนใหญ่เกิดจากราคาผลผลิตตกต่ำ 4) การ เปรียบเทียบความแตกต่างสภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์กับปัญหาและอุปสรรคของสมาชิกต่อความสามารถในการชำระ หนี้ของสหกรณ์การเกษตรเมืองตาก จำกัด พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ จำนวนสมาชิกในครัวเรือน ระยะเวลาการเข้ามาเป็นสมาชิก จำนวนบุตรที่ต้องส่งเรียนหนังสือ ภาระที่ต้องอุปการะเลี้ยงดู บิดา ญาติพี่น้อง ภาระ หนี้สินนอกระบบ รายได้เฉลี่ยของครอบครัวต่อเดือน ประเภทเงินกู้ การค้ประกันเงินกู้การนำเงินกู้ไปใช้จ่าย การ ออกไปตรวจสอบการใช้เงินกู้ การได้รับใบเตือนหนี้ การติดตามเร่งรัดหนี้ในรอบปีสาเหตุที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตาม กำหนด ที่แตกต่างกันมีผลต่อปัญหาและอุปสรรคของสมาชิกต่อความสามารถ ในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ การเกษตรเมืองตาก จำกัด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการชำระหนี้th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectหนี้th_TH
dc.titleความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองตาก จำกัดth_TH
dc.title.alternativeDebt repayment ability of the members of Mueang Tak Agricultural Cooperative Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the demographic conditions of cooperative members, 2) debt repayment ability of cooperative members, 3) debt repayment problems of cooperative members, and 4) comparisons on demographic conditions and debt repayment problems cooperative members. The study population consisted of 390 members of Mueang Tak Agricultural Cooperative Ltd. who had taken out loans from the cooperative, out of which a sample population of 200 was selected using Taro Yamane formula. Data were collected by using a questionnaire and analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-test, and ANOVA. The results of study showed that 1) the majority of samples were male with age bwtween 51 - 60 years, finish primary education, married, with 4 household members. Most of them had been members of the cooperative for less than 5 years. Most of them did not have dependent children attending school or dependent parents, or other relatives living with them. Most of them did not have informal sector debts. The mean household income was 30,000 baht a month or less. 2) Most of the members had taken out short-term loans and had personal guarantors as collateral. More than 70% had used the loan for the intended purpose, and reported that cooperative personnel had inspected to see that they had. They said that they received payment that debt reminder once a year, and had not been visited by any loan collectors in the past year. The reasons that they were behind in the payments were natural disasters and losses from their farm business. 3) The problems affected debt repayment ability were as followings: perceptions on based problems were at low level; consisting mainly of high fertilizer costs; cooperative personnel related problems were rated at the lowest level; consisting of not inviting the members to take out a new loan after they repaid the first; agricultural losses problems were rated as medium level; consisting mainly of drought; and other problems were rated as low level; and consisting of low prices for agricultural products. 4) Statistically significant diferences were found between members’ problems that affected debt repayment ability and the demographic factors of sex, age, educational level, number of household members, number of years of membership in the cooperative, number of dependents attending school, number of dependent relatives, informal sector loans, monthly household income, type of loan, type of collateral, receipt of reminders, inspections by cooperative personnel and visits by collectorsen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140942.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons