Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนริศรา โปธิตา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-09T04:30:40Z-
dc.date.available2023-01-09T04:30:40Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2643-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจแปรรูปมันสําปะหลัง ของสหกรณ์ 2 ) ปัญหาและอุปสรรคของการจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจแปรรูปมันสําปะหลังของสหกรณ์ และ 3) เสนอแนะแนวทางการลดต้นทุนการจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจแปรรูปมันสําปะหลังของสหกรณ์นิคมคลองสวน หมาก จํากัด จังหวัดกำแพงเพชร การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ศึกษา คือ กรรมการดําเนินการ และเจ้าหน้าที่สหกรณ์ นิคมคลองสวนหมาก จํากัด ทั้งหมด 34 คน กำหนดขนาดตัวอย่างแบบเจาะจงเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้อง จํานวน 10 คน และ การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิของสหกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง การ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการจัดกลุ่มและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) กระบวนการจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจแปรรูปมันสําปะหลังของสหกรณ์ ประกอบด้วย ต้นนํ้าจากแหล่งกำเนิดวัตถุดิบจากสมาชิกปลูกมันสําปะหลัง ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมดิน การเตรียมพันธุ์ การปลูก การดูแลรักษา และ การเก็บเกี่ยว กลางนํ้า สหกรณ์ทําหน้าที่รับซื้อมันสําปะหลัง ตั้งแต่ การรวบรวมมัน สําปะหลังจากสมาชิก กระบวนการแปรรูปมันสําปะหลังหัวสดเป็นมันเส้นสะอาด และ ปลายนํ้า สหกรณ์จําหน่ายมัน เส้นสะอาดให้แก่สหกรณ์โคนมมวกเหล็ก จํากัด ตั้งแต่การลงนามบันทึกข้อตกลงซื้อขายมันเส้นสะอาด การควบคุม สินค้าคงคลัง การตรวจสอบคุณภาพ การขนส่ง การส่งคืนสินค้าถ้าไม่ได้มาตรฐาน และการรับเงินค่าสินค้า 2) ปัญหา อุปสรรคของการจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจแปรรูปมันสําปะหลังคือ (1) สมาชิกส่วนใหญ่ปลูกมันสําปะหลังพันธุ์ที่ไม่ เหมาะสมกบการแปรรูป (2) มันสําปะหลังมีราคาสูงและมีการแข่งขันสูงกับลานมันข้างเคียง (3) สมาชิกส่วนใหญ่จ้าง เก็บเกี่ยวผลผลิตไม่พิถีพิถันในการเก็บเกี่ยว (4) ลานตากของสหกรณ์ยังไม่เพียงพอกับกำลังการผลิต (5) การแปรรูปมัน สําปะหลังขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้า อากาศ ไม่สามารถควบคุมได้ และ(6) สหกรณ์ไม่มีรถบรรทุกของสหกรณ์เองทําให้ ค่าใช้จ่ายสูง ทั้งนี้จากข้อมูลทางการเงินของสหกรณ์ปี 2558 สหกรณ์ขาดทุนจากการตีราคาสินค้าลดลง ดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ เพื่อแปรรูป ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร และเงินเดือน/ค่าจ้าง เพิ่มสูงกว่าปีที่ 2557 ค่อนข้างมาก จึงมีผลทําให้ธุรกิจแปรรูป มันเส้นของสหกรณ์ขาดทุน 3) แนวทางการลดต้นทุนการจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจแปรรูปมันสําปะหลัง ได้แก่ (1) ส่งเสริมให้สมาชิกปลูกมันสําปะหลังพันธุ์ที่เหมาะสมกับการแปรรูป ได้แก่ พันธุ์ระยอง 5 ระยอง 9 และเขียวบราซิล (2) เน้นเก็บเกี่ยวมันหัวสะอาด ตัดเหง้าเขย่าดิน (3) สหกรณ์จะต้องวางแผนการรวบรวมและแปรรูปให้สอดคล้องกัน เพื่อลดการสูญเสียนํ้าหนักจัดหาแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยตํ่า และจัดหารถบรรทุกเพื่อใช้ในการขนส่งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมันสำปะหลัง--อุปทานและอุปสงค์th_TH
dc.subjectมันสำปะหลัง--การแปรรูปth_TH
dc.titleการจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจแปรรูปมันสำปะหลังของสหกรณ์นิคมคลองสวนหมาก จำกัด จังหวัดกำแพงเพชรth_TH
dc.title.alternativeSupply chain management of the cassava processing business of Khlong Suan Mahk Settlement Cooperatives, Ltd. in Kamphaeng Phet Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the process of supply chain management of the cassava processing business of Khlong Suan Mahk Settlement Cooperatives, Ltd.; 2) problems with the supply chain management; and 3) recommendations for reducing the costs in the cooperative’s supply chain management. This was a qualitative research. The study population was all 34 managers and employees of Khlong Suan Mahk Settlement Cooperatives, Ltd., out of which 10 who were involved with the cassava processing business were selected through the purposive sampling method. A semi-structured interview form was used to collect data, and additional data were gathered from secondary sources. Data were analyzed qualitatively through categorization and content analysis. The results showed that 1) the cooperative’s supply chain management process consisted of first, the upstream components of sourcing raw materials from cooperative members who grew cassava, which included the steps of soil preparation, preparation of propagules, planting, crop maintenance, and harvest; second, the midstream components of the cooperative playing the role of consolidator buying the cassava, which included the steps of buying the cassava from members, and processing fresh cassava tubers into clean cassava strips; and lastly, downstream components of selling the processed cassava to Muak Lek Dairy Cooperative, which included making a sales contract, controlling inventory, quality inspections, transportation, return of products if they are sub-standard, and receiving payment. 2) Difficulties with supply chain management were a) most of the cooperative members grew a variety of cassava that was not suitable for processing; b) the price of cassava was high and there was strong competition from other buyers; c) most members hired outside labor to harvest the cassava and the harvesting was not done carefully; d) the cooperative’s drying yard was not large enough for the volume of cassava it purchased; e) the processing process depends on good weather, which was out of control; and f) the cooperative did not own its own truck, so transportation was expensive. The cooperative’s financial report showed that in 2015 the cooperative recorded losses from price reductions, interest payments on loans for processing, depreciation of machinery, and employee compensation, all of which were higher than in 2014, causing financial losses from the cassava processing business. 3) Recommended approaches for reducing the costs of the cassava processing supply chain were a) to encourage members to grow the Rayong 5, Rayong 9 or Green Brazil varieties which are more suitable for processing; b) to take more care to cut the tubers cleanly and shake off the dirt when harvesting; c) to plan purchases of cassava in coordination with processing times to reduce losses from moisture loss; to get a low-interest loan, and to purchase a trucken_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152858.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons