Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2679
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรพรรณ ศรีเสาวลักษณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สมชาย แสงวิมาน, 2494- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-12T04:01:03Z | - |
dc.date.available | 2023-01-12T04:01:03Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2679 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและประสิทธิผลของวิธีการบำบัดน้ำเสียจากคลังน้ำมัน 3 วิธีคือ 1) วิธีการแบบบ่อปรับเสถียร 2) วิธีการแบบบ่อเติมอากาศ 3) วิธีการแบบบ่อบึงประดิษฐ์ เพื่อวิเคราะห์ว่าวิธีใดใช้ต้นทุนต่ำที่สุด แต่มีประสิทธิผลสูงสุดในการบำบัดน้ำเสีย ในการวิเคราะห์ได้ใช้ตัวอย่างน้ำเสียจากคลังน้ำมันแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร โดยเก็บตัวอย่างน้ำปริมาณ 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อนำไปวิเคราะห์ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายอินทรีย์ที่เหลืออยู่หลังจากที่ได้บำบัดโดยใช้วิธีบำบัดแต่ละวิธี ผลจากการวิเคราะห์พบว่า ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายอินทรีย์จากวิธีที่ 1 บ่อบำบัดแบบปรับเสถียร บำบัดได้ 22 มิลลิกรัม/ลิตร ในขณะที่วิธีที่ 2 บ่อบำบัดแบบเติมอากาศ และวิธีที่ 3 บ่อบำบัดแบบบึงประดิษฐ์ บำบัดได้ 20 และ 25 มิลลิกรัม/ลิตร ตามลำดับ และเมื่อนำเอาปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายอินทรีย์ที่บำบัดได้มาวิเคราะห์กับต้นทุนต่อการบำบัดน้ำ 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร พบว่าต้นทุนและประสิทธิผลของวิธีที่ 1 เท่ากับ 962 บาท ในขณะที่ต้นทุนและประสิทธิผลของวิธีที่ 2 และ 3 มีจำนวน 1,071 บาท และ 1,643 บาท ตามลำดับ จึงสรุปได้ว่าวิธีที่ 1 เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่ควรจะนำมาใช้ในการบำบัดน้ำเสีย เนื่องจากใช้ต้นทุนต่ำสุดในการบำบัดน้ำต่อลิตร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | น้ำเสีย--การบำบัด--ต้นทุนและประสิทธิผล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลการบำบัดน้ำเสีย : กรณีศึกษาคลังน้ำมันบริเวณแม่น้ำท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร | th_TH |
dc.title.alternative | Cost-effectiveness of investment in waste water treatment plant : the case study of wastewater treatment from oil depot in Tha Chin River Basin, Muang District, Samut Sakhon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to analyse the cost-effectiveness of three wastewater treatment technologies, namely, 1) stabilization pond 2) aerated logoon and 3) constructed wetland. The purpose is to identify the technology that requires the least cost but is most effective in wastewater treatment. In conducting this study, wastewater samples were collected from an oil depot in Samut Sakhon Province. Each of the above technology was used to treat 1,500 CC of wastewater, and the remaining Biochemical Oxygen Demand (BOD) content was used to compare the effectiveness of each technology. After treatment, the volume of BOD that can be reduced from the stabilization pond technology was 22 mg/liter whereas aerated lagoon technology and constructed wetland can treat 20 mg/liter and 25 mg/liter respectively. Using this finding with the treatment cost per 1,500 CC of wastewater, it can be concluded that stabilization pond technology is the most cost-effective since the treatment cost per milligram of waste water is lowest at 962 baht compared to the unit costs of aerated lagoon and constructed wetland which were 1,071 baht and 1,643 baht respectively. This study concluded that the first method shoud be used for the treatment because of the lowest cost per liter. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
131043.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License