Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2683
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิริวรรณ ฉลูศรี, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-13T06:37:51Z-
dc.date.available2023-01-13T06:37:51Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2683-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) สังเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนของไทยในแต่ละภูมิภาค 2) ศึกษาว่าปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนของงานวิจัยในประเทศไทยกับทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบต่างๆ การศึกษาครั้งนี้เป็นการสังเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน จำนวน 24 งานวิจัยในภูมิภาคต่างๆ ของไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2553 และใช้ค่าสถิติ สหสัมพันธ์เชิงอันดับของสเปียร์แมน ทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในแต่ละภูมิภาค จากผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ของแต่ละภูมิภาคโดยมีปัจจัยที่สำคัญแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค กล่าวคือ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนับเป็นแนวทางที่วิสาหกิจชุมชนในทุกๆ ภาค นำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนามากที่สุด รองลงมามีการนำเรื่องของกลุ่มและเครือข่ายมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาในภาคเหนือและภาคกลาง ซึ่งแตกต่างจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ให้ความสำคัญกับการจัดการด้านการผลิต ขณะที่ภาคใต้เน้นหนักในเรื่องของความเชื่อ วัฒนธรรม และจิตสานึกรักชุมชนของตนเองเป็นสำคัญ เมื่อทดสอบสหสัมพันธ์เชิงอันดับของสเปียร์แมนแล้วพบว่าปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนของแต่ละภูมิภาค มีความสัมพันธ์กัน และไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และ 2) ปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในภาคต่างๆ ของประเทศไทยดังที่กล่าวมาข้างต้นมีความสอดคล้องกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่สำคัญ ได้แก่ ทฤษฎีของจอห์น เมนาร์ด เคนส์, ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดพุทธเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน -- ไทยth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหา -- วิจัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeA synthesis of research on community enterprise development in Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe primary objectives of this study were to: 1) synthesize factors affecting the development of community enterprises in Thailand, and 2) study factors promoting the development of community enterprises in Thailand in relation to various economic development theories. The study was a synthesis based on the existing secondary data, research, and Ph.D. theses covering aspects of the development of community enterprises, numbering 24 researches in various regions of Thailand. The period coverage was between 2000-2010. Various statistical techniques were employed, including Spearman's rank correlation coefficient, to test the factors promoting the community enterprise development in various regions. Results of the study show that: firstly, factors promoting the development of community enterprises varied in various regions. There was an underlying economy philosophy of self-sufficiency commonly practiced in every region and followed by groups and networks applicable to the North and the Center. These factors were different from the Northeast, which based on production management. While the South emphasized on traditional beliefs and culture which helped to preserve their communities. When Spearman's rank correlation coefficient was tested, factors promoting regional community enterprise development in various regions were correlated and were not significantly different at 0.05. Secondly, some factors promoting the development of community enterprises, as previously mentioned, were to some extent, consistent with economic development theories such as John M. Keynes, King’s Bhumibol Sufficiency Economy Philosophy, Buddhist Economicsen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128319.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons