Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2701
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุจิตรา รอดสมบุญ | th_TH |
dc.contributor.author | นุชนาฏ พรสุริยา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-16T03:08:53Z | - |
dc.date.available | 2023-01-16T03:08:53Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2701 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขกระบี่ จำกัด ที่มีผลต่อการตัดสินใจออมเงิน 2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจออมเงิน และ 3) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงและพัฒนาการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขกระบี่ จำกัด ประชากรที่ศึกษา คือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขกระบี่ จำกัด ณ วันสิ้นปี บัญชี 31 ธันวาคม 2561 จำนวน 2,884 รายศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 351 รายได้จากการคำนวณของทาโร่ ยามาเน่ ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไคสแควร์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขกระบี่ จำกัด กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31 – 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี สถานภาพสมรส อาชีพรับราชการ ระยะเวลาการเป็นสมาชิก 10 ปี ขึ้นไป รายได้ของครัวเรือนต่อเดือน มากกว่า 30,000 บาท รายจ่ายของครัวเรือนต่อเดือน มากกว่า 15,000 บาท จำนวนผู้มีรายได้ในครอบครัว 2 คน ขนาดของครอบครัวมากกว่า 3 คน จำนวนหนี้สินทั้งหมด มากกว่า 200,000 บาท และสาเหตุที่เลือกออมเงินกับสหกรณ์ เพราะได้รับเงินปันผล การตัดสินใจออมเงิน พบว่า ส่วนใหญ่มีการออมประเภทเงินฝากออมทรัพย์ทั่วไปจำนวนเงินออมต่อครั้ง 1,001 – 5,000 บาท จำนวนเงินออมรวมในสหกรณ์ 10,001 – 50,000 บาท จำนวนเงินออมเฉลี่ยต่อเดือน 1,001 – 5,000 บาท มีรูปแบบการออมเงินคือ การออมเงินแบบฝากออมทรัพย์และวัตถุประสงค์ของการออมเงิน เพื่อใช้ยามฉุกเฉินหรือเจ็บป่วย 2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด พบว่า โดยรวมสมาชิกมีระดับการตัดสินใจต่อการใช้บริการ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากรที่ให้บริการ ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ อยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจออมเงิน คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส สถานภาพของบุคลากร ระยะเวลาการเป็นสมาชิก รายได้ หนี้สินทั้งหมด และสาเหตุที่เลือกออมกับสหกรณ์ ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจ ออมเงิน คือ ด้านบุคลากรที่ให้บริการ ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ 3) ข้อเสนอแนะคือ ควรเปิดบริการในวันหยุดนักขัตฤกษ์ และวันหยุดเสาร์ – อาทิตย์ และควรปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการให้บริการแก่สมาชิกให้มีความทันสมัยมากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขกระบี่--สมาชิก--การเงินส่วนบุคคล | th_TH |
dc.subject | การออมกับการลงทุน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สหกรณ์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขกระบี่ จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting to saving decision of members of Saving Cooperative of Public Health Krabi Province Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the personal factors of the members of Saving Cooperative of Public Health Krabi Province Limited that affected the decision in saving 2) the mix market factors that affected the decision in saving and 3) the suggestions in the improvement and development services of Saving Cooperative of Public Health Krabi Province Limited. The population of this study was 2,884 members at the end of the fiscal year on 31 December, 2018 with the sample size of 351 samples that calculated by Taro Yamane formula with the error value of 0.05. The questionnaires were applied to collect data by using simple random sampling method. Data was analyzed by using statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test at statistically significant level of 0.01 and content analysis. The results of the study found that 1) most of members of Saving Cooperative of Public Health Krabi Province Limited were female, age 31-40 years. They held bachelor degree, with married status, were civil service. They were members at the cooperative for more than 10 years, with household income more than 30,000 baht per month, household expenditure of more than 15,000 baht per month. The number of household members was 2 people, the size of the family was more than 3 people, the total debts were more than 200,000 baht, and the reason for saving with the cooperative was because of the dividends. In regards to saving decision, it found that most of the member opened general saving account with the amount of saving per time of 1,0001-5,000 baht, total saving in cooperative of 10,001-50,000 baht, average monthly saving of 1,001-5,000 baht. The saving form they chose was saving account and the purpose for saving was for emergency or illness. 2) The mix marketing factors found that, overall, members had the high level of decision in using the service in product side, price side, place side, marketing promotion side, service personnel side, physical side, and process side. The personal factors of the members of Saving Cooperative of Public Health Krabi Province Limited that affected the decision in saving were gender, age, education level, marriage status, personnel status, membership, membership duration, income, debts, and the reason for choosing to save with cooperative. The mix marketing factors that affected the decision in saving were service personnel side, physical side and process side. 3) The suggestions were that the cooperative should be opened on public holidays and weekends, and should improve the information technology system to be more up-to-date | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
164436.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License