Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2712
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภัทฌา สุธาสันติรักษ์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-16T07:56:35Z-
dc.date.available2023-01-16T07:56:35Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2712-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทย และ (2) ความสัมพันธ์เชิงเป็นเหตุเป็นผลระหว่างภาษีมูลค่าเพิ่มและการเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทย การศึกษานี้ใช้ข้อมูลอนุกรมเวลาของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ และรายได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม รายไตรมาส ตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2536 ถึงไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2557 รวม 88 ไตรมาส ด้วยการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติ โดยการทดสอบความนิ่งของข้อมูล ทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะ ยาว และความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างรายได้จากภาษีมูลค่าเพิ่มกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ ผลการศึกษา พบว่า (1) ลักษณะภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทยจัดเก็บได้มากกว่าภาษี ประเภทอื่นๆ โดยปีงบประมาณ 2559 จัดเก็บได้สูงกว่าปีก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.1 และมีแนวโนม้ ขยายตัว ร้อยละ 2 ในระยะเวลา 2 – 3 ปี และเป็นการจัดเก็บจากการบริโภคเป็นหลักใช้การคำนวณภาระภาษีด้วย วิธีเครดิต โดยนำภาษีขายลบดด้วยภาษีซื้อ และเก็บภาษีโดยใช้หลักปลายทาง มุ่งเก็บภาษีจากสินค้า ทุกชนิด ที่มีการบริโภคในประเทศเป็นหลัก ไม่คำนึงว่าสินค้านั้นจะมีการผลิตที่ใด (2) ความสัมพันธ์เชิงเป็นเหตุ เป็นผลระหว่างภาษีมูลค่าเพิ่มและการเติบโตทางเศรษฐกิจ พบว่ารายได้จากภาษีมูลค่าเพิ่มไม่เป็นสาเหตุ ของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นสาเหตุของรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 นั่นคือ เมื่อเศรษฐกิจเจริญเติบโตส่งผลต่อรายได้รัฐบาลจากภาษีอากรซึ่ง กรมสรรพากรจัดเก็บเพิ่มขึ้น เมื่อเศรษฐกิจมีการเจริญเติบโต ธุรกิจดำเนินกิจการต่อไป มีเงินหมุนเวียนใน ระบบเศรษฐกิจ มีการลงทุนเพิ่มผลผลิต จ้างงานเพิ่มขึ้น ประชาชนมีอำนาจซื้อเพิ่มขึ้น ผลิตสินค้าและ บริการมากขึ้น ส่งผลให้มีการจัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษีมูลค่าเพิ่ม -- ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาษีมูลค่าเพิ่มและการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between value added tax and economic growth of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aims of this study were to: (1) study the nature of Thailand’s VAT; (2) study the relationship between Value Added Tax and Economic Growth of Thailand. This study employed quarterly time series data of Gross Domestic Product (GDP) and Value Added Tax (VAT) from Q1 2536 to Q4 2557 totally 88 quarters. Econometric analysis consists of unit root test together with cointegration test for examining the long-run equilibrium relation, and causality test for investing cause and effect of these variables. The study’s result showed that: (1) Value Added Tax of Thailand is the highest government revenue in 2016, 1.1% higher than the previous years and tends to expand to 2% in the next 2-3 years. The tax was mainly from consumption tax. Calculation using credit method by deducting purchasing tax from selling tax and tax collection base on Destination principle on all kinds of consumer goods domestically regardless of place of origin; and (2) The relationship between VAT and economic growth has shown that tax revenue from VAT is not the cause of economic growth but economic growth has impact on the revenue of VAT at confidential level of 95 %, i.e., economic growth resulted in increasing tax collected by the Revenue Department. When the economy is growing up, business is on going with money circulation in the economy more investment in productivity and employment, higher purchasing power higher production of goods and services resulting in higher tax revenue colletionen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153020.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons