Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2737
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวินัย จามิตร, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-17T08:30:53Z-
dc.date.available2023-01-17T08:30:53Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2737-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของ ประชาชน อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล ของประชาชน อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชากรในเขตอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดย กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Taro Yamane ที่มีความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 จำนวน ทั้งสิ้น 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลทุกงวดในรอบ 1 ปี โดย ซื้อครั้งละ 1 ฉบับ ในกรณีที่ซื้อมากกว่า 1 ฉบับ เลือกซื้อเลขท้าย 2 ตัว เหมือนกัน และซื้อครั้งละ ไม่เกิน 100 บาท ช่วงเวลาที่ซื้อไม่แน่นอน โดยซื้อมาจากร้านค้าทั่วไป เพื่อน/คนรอบข้าง เป็นแหล่งที่มา ของตัวเลขที่ซื้อ เหตุผลที่ซื้อสลาก เนื่องมาจากชอบเสี่ยงโชค โอกาสซื้อสลากไม่แน่นอนและหากมีเลข ไม่ตรงกับความต้องการจะเลือกซื้อเลขกลับกัน ติดตามผลการออกสลากผ่านทางวิทยุ ราคาสลาก เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ ไม่เคยถูกรางวัลสลากและจะซื้อใหม่ในงวดถัดไป ส่วนปัจจัยพฤติกรรม ผู้บริโภค ได้แก่ ด้านวัฒนธรรม ด้านสังคม ด้านส่วนบุคคลและด้านจิตวิทยา มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อ สลากกินแบ่งรัฐบาล โดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75 และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ด้านสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายและด้านการส่งเสริมการตลาด ผลต่อ พฤติกรรมการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลโดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.88 นอกจากนี้ ความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของกลุ่มตัวอย่างที่มีอาชีพ แตกต่างกันทั้งโดยรวมและปัจจัยรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยอาชีพ ที่นิยมซื้อมากกว่าคือ เกษตรกร เนื่องมาจากชอบเสี่ยงโชคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสลากกินแบ่ง -- ไทยth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- เชียงใหม่th_TH
dc.subjectผู้บริโภค -- ทัศนคติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลของประชาชน อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting to government lottery buying behavior of people in Mae Taeng District, Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research had objectives to study 1) The government lottery buying behavior of people in Mae Taeng District, Chiang Mai Province and 2) The factors affecting to government lottery buying behavior of people in Mae Taeng District, Chiang Mai Province. The population of this research was conducted by determining the size of the sample group, according to Taro Yamane's table at the statistical significance level of 0.05 and having a discrepancy of 5 percent in total of 400 samples. Samples were selected by accidental sampling and data were collected during May-June 2018. The research instruments were questionnaires and data were analyzed by descriptive statistics. The research results found that most of the samples bought the government lottery every period in a year, by buying 1 issue at a time. In case of buying more than 1 issue, they chose to buy the same of 2 end numbers of lottery and buy not more than 100 baht per time. The period of buying was uncertain and they bought a lottery from general shops. Friends and people they knew were sources of numbers of lottery buying. The reason to buy lottery was they like having luck and opportunity to buy lottery was uncertain. If lottery numbers did not match their requirements, they chose to buy a revert number of a lottery instead. They were tracking the lottery results via radio broadcasting. The lottery prices were suitable for economic conditions and if they had never won the lotteries, they would buy again in the next period. In terms of consumer’s behavior factors affecting buying government lottery such as culture, society, person, and psychology in overall were at a high level, means as 3.75. And marketing mix factors such as product, price, place, and promotion affecting government lottery buying’s behavior overall were at a high level, means as 3.88. In addition, it was found that the priority of government lottery buying’s behavior of samples was various in occupations, both in overall and in individual factors, which was significantly different at the level of .05, and agriculturist was more popular occupation who bought government lottery because they liked having lucken_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
160975.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons