Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/274
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ ปิติยาศักดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนิต ประภาตนันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสถาพร สอนเสนา, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-06T03:33:45Z-
dc.date.available2022-08-06T03:33:45Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/274-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงความหมายและรูปแบบของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ที่เกิดจากชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์โดยการศึกษาและวิเคราะห์ถึงคุณสมบัติและความหมายตลอดจนความเสียหาย ที่ไต้รับจากชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติว่าต้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เพื่อค้นหามาตรการทางกฎหมายในการป้องกันภัยคุกคามที่เกิดจากชุดคำสั่งดังกล่าว ภายใต้กรอบของกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมาย (Legal Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quality Research) ต้วยการวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) โดยการศึกษาข้อมูลจากหนังสือ บทความ เอกสารทางวิชาการ วิทยานพนธ์กฎหมาย ร่างกฎหมาย และข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่เกิดจากชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์จะต้องผ่าน กระบวนการเข้าถึงทางอิเล็กทรอนิกส์หรือทางดิจิทัลก่อนเสมอ จึงจะสามารถนำไปสู่การกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายและส่งผลกระทบอี่นๆ ตามมากรณีการเข้าถึงโดยม้าโทรจันและสปายแวร์นั้น แม้ว่าม้าโทรจันและสปายแวร์จะเป็นชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ในทางทำให้เกิดความเสียหายแต่ก็ไม่อยู่ในความหมายของคำว่า “ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์” ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพราะความเสียหายที่เกิดจากม้าโทรจันและสปายแวร์มิได้ปรากฎให้เห็นโดยชัดแจ้งเจ้าพนักงานในการยุติธรรมโดยเฉพาะพนักงานเจ้าหน้าที่จึงมิอาจตีความ โดยการขยายความเพื่อการดำเนินการหรือเพื่อลงโทษผู้ใชัม้าโทรจันและสปายแวร์ไต้ เพราะการใชักฎหมายอาญาจะต้องมีบทบัญญัติโดยชัดแข้งและต้องตีความโดยเคร่งครัด และไม่มีบทบัญญัติในส่วนใดของกฎหมายนี้ที่จะให้ตีความเช่นนั้นไต้ ทำให้ผู้กระทำผิดไม่ต้องรับโทษ จึงต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติมความหมายของชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ให้ครอบคลุมถึงม้าโทรจันและสปายแวร์ นอกจากนี้ยังจะต้องมีการสรัางระบบบริหารจัดการเกี่ยวกับชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ผ่านทางพนักงานเจ้าหน้าที่ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์และผู้บังคับใช้กฎหมายที่ถือเป็นต้นธารแห่งกระบวนการยุติธรรม โดยจะต้องปรับปรุงกฎหมายว่าต้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ให้สอดรับกับวิธี ปฏิบัติและข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจึงจะสามารถจัดการกับชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ได้อย่างแท้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.262en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550th_TH
dc.subjectความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์th_TH
dc.subjectอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์th_TH
dc.titleปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 : ศึกษากรณีการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่เกิดจากชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์th_TH
dc.title.alternativeLegal problems on the enforcement of computer crime Act BE 2550 (2007) : a case study of computer crime caused by malicious softwareth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.262en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to understand the meaning and types of computer crime caused by malicious software, and to study and analyse the attributes, meaning and damage derived from malicious software under the Computer Crime Act BE 2550 (2007) in order to find an appropriate legal measure to combat against malicious software This study is Legal Research using Qualitative Research carried out by using the documentary research, study of textbooks, articles, academic papers, theses, laws, draft laws and other sources from the Internet in both the Thai and English language. This study concludes that computer crime caused by malicious software must always commence from Electronic or Digital access before it causes damage or other adverse effects. In case of Trojan Horses and Spyware, although Trojan Horses and Spyware may be considered as malicious software causing harm, they are not within the meaning of “undesirable sets of instructions” under the Computer Crime Act BE 2550 (2007), because the damage caused by Trojan Horses and Spyware is not apparent. As a result, a judicial officer, especially a competent officer, is unable to interpret the law to include the implementation of or punishment for the use of Trojan Horses and Spyware. This is due to the fact that criminal law must have clear provisions which must be strictly interpreted. The law cannot, however, be interpreted in such a way that the use of Trojan Horses and Spyware is an offence. As a result, a person who commits computer crime will not be subject to a penalty. It is therefore necessary to amend the law by amending the definition of the term “malicious software” to include Trojan Horses and Spyware. Besides, it is necessary to create a management system concerning malicious software through competent officers who are computer experts, and law enforcers who are considered as an important part of judicial administration, where enforcement is crucial. This process is intended to improve the Computer Crime Act BE 2550 (2007) so that it is consistent with actual practice and facts so that malicious software can be properly dealt withen_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib128792.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons