Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2771
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรกัญญา อักษรเนียม, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา.th_TH
dc.date.accessioned2023-01-23T04:14:56Z-
dc.date.available2023-01-23T04:14:56Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2771-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) ความรู้และแหล่งความรู้ของสมาชิก 2) ความพึงพอใจเกี่ยวกับการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงของสมาชิก 3) การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสมาชิก 4) ความเข้มแข็งของกลุ่ม การสร้างเครือข่ายและความพร้อมของการเป็นกลุ่มต้นแบบ 5) ศักยภาพการพื่งพาตนเองของสมาชิก 6) ปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง ผลการวิจัยพบว่า 1) สมาชิกมีความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจอยู่ในระดับมากและแหล่งความรู้ที่ได้รับอยู่ในระดับปานกลางโดยเฉพาะจากสื่อกลุ่ม 2) สมาชิกมีความพึงพอใจการส่งเสริมในระดับมาก ในด้านผลการส่งเสริม/เข้าร่วมโครงการ 3) สมาชิกใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตในระดับมากโดยเฉพาะด้านคุณธรรม 4) ความเข้มแข็งและการดำรงอยู่ของกลุ่ม ด้านการสร้างเครือข่าย และด้านความพร้อมของการเป็นกลุ่มต้นแบบ พบว่า สมาชิกมีความพร้อมในระดับมาก โดยกลุ่มมีสถานที่เรียนรู้ จุดสาธิตและการฝืกปฏิบัติการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงครบถ้วน และกรรมการกลุ่มมีความเข้มแข็ง 6) ศักยภาพการพึ่งพาตนเอง พบว่า สมาชิกพึ่งพาตนเองในระดับมากโดยเฉพาะด้านจิตใจ 7) ปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนสันแบบ พบว่า ปัญหาของการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับปานกลาง โดยเฉพาะผลการส่งเสริม/เข้าร่วมโครงการ สำหรับข้อเสนอแนะที่อยู่ในระดับมากที่สุดคือควรสนับสนุนงบประมาณให้ต่อเนื่อง รองลงมาคือหน่วยงานควรมีแผนการส่งเสริมและพัฒนาที่ชัดเจนทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว และผู้ส่งเสริมควรช่วยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มากขึ้น สำหรับแนวทางการส่งเสริมเศรษฐกิจ ได้แก่ ส่งเสริมการสร้างเอกลักษณ์ของชุมชน ส่งเสริมการเชื่อมโยงความรู้คูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น ส่งเสริมการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์และ ส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีวิชีวิตชุมชนพอเพียงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเศรษฐพอเพียง--ไทยth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตรth_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงมในชุมชนต้นแบบของกรมส่งเสริมการเกษตรth_TH
dc.title.alternativeGuidelines for extension of sufficiency economy in communities model of department of agricultural extensionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัญฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) knowledge and knowledge resource 2) the satisfaction regarding the extension in sufficiency economy 3) living life according to sufficiency economy philosophy 4) group strength, network creation, and readiness of model group 5) potential in self-reliance 6) problems and suggestion in the extension of sufficiency economy. The population in this research was 328 members of sufficiency economy in 5 model community groups. The sample size of 180 people was determined by using simple random sampling method. Data was collected through conducting interview and focus group and was analyzed by using descriptive statistics and content analysis. The results of the research revealed that 1) members had knowledge about sufficiency economy at the high level and the knowledge resource received was at the moderate level. 2) Members’ satisfaction regarding the extension was at the high level. 3) Members adopted sufficiency economy in living their lives at the highest level. 4) The readiness of the group as the model group showed that members were ready at the highest level. 5) Potential in self-reliance was at the highest level. 6) Problems about the extension of sufficiency economy were at the moderate level. The highest level of suggestion was on the constant support in term of funding. Extension guidelines were such as the extension on the identity creation of the community and the wisdom knowledge connection from generation to generation.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons