Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐรดา เกียวกุล, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-23T08:40:53Z-
dc.date.available2023-01-23T08:40:53Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2784-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียน เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของนักเรียนที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5Es ผนวกการสร้างแผนผังมโนทัศน์ กบเกณฑ์ร้อยละ 80 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 34คน ใน 1 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5Esผนวกการสร้างแผนผังมโนทัศน์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง และ (2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5Es ผนวกการสร้างแผนผังมโนทัศน์ ระหวางหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) วิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิจัยth_TH
dc.subjectความคิดรวบยอดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5Es ผนวกการสร้างแผนผังมโนทัศน์ที่มีผลสัมฤทธ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนกีฬา จังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using 5Es Learning activities included with concept mapping construction in the topic of Earth and Change on science achievement of Mathayom Suksa II students at Suphanburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to compare science learning achievement of Mathayom Suksa II students at Suphan Buri Sports School in Suphan Buri province who learned under the 5Es learning activities management included with concept mapping construction in the topic of Earth and Changes with the 80 percent criterion. The study was conducted with 34 Mathayom Suksa II students in one classroom of Suphan Buri Sports School in Suphan Buri province during the first semester of the 2018 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments comprised (1) science learning management plans for the instruction using 5Es learning activities included with concept mapping construction; and (2) a science learning achievement test in the topic of Earth and Changes. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that the post-learning science learning achievement in the topic of Earth and Changes of Mathayom Suksa II students who learned under the 5Es learning activities management included with concept mapping construction was higher than the 80 percent criterion at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_160443.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons