Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2794
Title: ปัจจัยเสี่ยงและการป้องกันการระบาดโรคพีอาร์อาร์เอสของฟาร์มสุกรในจังหวัดพิษณุโลก
Other Titles: Risk factors and prevention for Porcine Respiratory and Reproductive Syndrome outbreak of pig farms in Phitsanulok Province
Authors: จิตติมา กันตนามัลลกุ, อาจารย์ที่ปรึกษา
กิติภัทท์ สุจิต, 2521-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --การศึกษาเฉพาะกรณี
สุกร--โรค
ไวรัสพีอาร์อาร์เอส
Issue Date: 2556
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรและการจัดการฟาร์ม 2) ปัจจัยเสี่ยงการระบาดของโรคพีอาร์อาร์เอสในฟาร์มสุกร และ 3) แนวทางการป้องกันโรคพีอาร์อาร์เอสของฟาร์มสุกรในจังหวัดพิษณุโลก ประชากรในการศึกษา คือ ฟาร์มสุกรในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 865 ฟาร์ม กลุ่มตัวอย่าง คือ ฟาร์มสุกรจำนวน 120 ฟาร์ม โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัย คือผลการตรวจพบโรคพีอาร์อาร์เอสโดยห้องปฏิบัติการของศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ ภาคเหนือตอนล่าง และแบบสอบถามวิเ คราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษา พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (64.17%) อายุเฉลี่ย 48.15 ปี ระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา (81.67%) ประสบการณ์การทำฟาร์มสุกรน้อยกว่า 10 ปี (60.00%) การจัดการฟาร์มไม่พิถีพิถันและไม่มีระบบป้องกันโรค (2) ปัจจัยเสี่ยงการระบาดของโรคพีอาร์อาร์เอสในฟาร์มสุกร ได้แก่ เกษตรกรขาดความรู้เรื่องโรค รถรับซื้อขายสุกรเข้า-ออกฟาร์มโดยไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ และการใช้พ่อพันธ์ุสุกรจากภายนอกฟาร์ม (p<0.05) และ (3) แนวทางการป้องกันโรคพีอาร์อาร์เอส ของฟาร์มสุกรในจังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ การให้ความรู้เกี่ยวกับโรคสุกร วิธีการลึ้ยงที่ดี และวิธีการป้องกันโรคเข้าสู่ฟาร์ม
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2794
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_140227.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons