Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2801
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสวัสดิ์ ชีววาริน, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-25T06:45:45Z-
dc.date.available2023-01-25T06:45:45Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2801-
dc.description.abstractการศึกษาปัจจัยกำหนดการส่งออกกุ้งแช่แข็งจากประเทศไทยไปประเทศสหรัฐอเมริกา นี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของการส่งออกกุ้งแช่แข็งของประเทศไทยไปประเทศ สหรัฐอเมริกา และการวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของการส่งออกกุ้งแช่แข็งของประเทศไทย 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการส่งออกกุ้งแช่แข็ง ของประเทศไทยไปประเทศสหรัฐอเมริกา วิธีการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายไตรมาสจาก ค.ศ. 2000- 2016 หลายหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศได้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร และธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา หลังจากนั้นททำการหาความนิ่งของข้อมูลโดยการหา Unit Root Test โดยวิธี ADF Test และ PP Test แล้วนำข้อมูลที่นิ่งมาใช้วิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด การศึกษาพบว่า 1) สภาพทั่วไปของการส่งออกกุ้งแช่แข็งจากประเทศไทยไป สหรัฐอเมริกา มีแนวโน้มลดลงร้อยละ15.1 ในเวลาเพียง 5 ปี โดยจุดอ่อน คือปัญหาโรคตายด่วน ในกุ้งขาว ปัญหาการสูญเสียความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในด้านต้นทุน ปัญหาจากมาตรการกีด กันการค้า ของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ปัจจัยบวกคือแนวโน้ม การส่งออกกุ้งแปรรูปของไทยไปยัง ประเทศสหรัฐอเมริกา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 2) จากการทดสอบความนิ่งของข้อมูลพบว่า ข้อมูลที่นำมาศึกษาทั้งหมดมีความไม่นิ่งที่ระดับ level ต่อมาเมื่อนำข้อมูลมาหาผลต่างลำดับที่ 1 พบว่าข้อมูลทั้งหมดมีความนิ่งที่ผลต่างลำดับที่ 1 หรือI (1) และปัจจัยที่ส่งผลต่อการส่งออกกุ้งแช่แข็ง ของประเทศไทยไปยังสหรัฐอเมริกา คือราคากุ้งแช่แข็งที่จำหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกา และอัตรา แลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ ที่ระดับนัยสำคัญ ร้อยละ 5 และ 10 ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอาหารแช่แข็ง -- ไทย -- การส่งออกth_TH
dc.subjectกุ้งแช่แข็ง -- ไทย -- การส่งออกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยกำหนดการส่งกุ้งแช่แข็งจากประเทศไทยไปประเทศสหรัฐอเมริกาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting frozen shrimp export from Thailand to the United State of Americath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research has objectives are 1) To study the situations of weaknesses and strengths of frozen shrimps export from Thailand 2) To study the factors affecting to frozen shrimps export from Thailand to the United States of America. The method which was applied to this study is ''Quantitative Research'' which data were collected from quarterly secondary data in year 2000-2016 from organizations in Thailand and in the United State of America such as Bank of Thailand, Office of Agricultural Economics and Federal Reserve Bank. Furthermore, the data were tested by the Unit Root Test of the ''ADF Test'' and ''PP Test'' and after that the Multiple Regression was applied to analyze all of the data. The results of this study found that 1) The general conditions of frozen shrimps export from Thailand to the United Stated were likely to decrease 15% in five year which affected by the weakness of Early Mortality Syndrome (EMS), the loss of comparative advantage costs and loss from the United State trade barriers. However, there were still positive factors of frozen shrimps export to the United States, that the exports were likely to continuous increasing 2) The Unit Root Test results were every variable which showed that non-stable data were in the level. After differencing, all variable data were stationary in the first difference or I(1). The factors affecting frozen shrimps export from Thailand to the United State of America were frozen shrimps prices which were sold in the United States and the exchange rates of Baht / USD were at the significant level of 0.05 and 0.10 respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159661.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons