Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2814
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณาตยา พาบัว, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-26T02:02:36Z-
dc.date.available2023-01-26T02:02:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2814-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน ของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนกบเกณฑ์ร้อยละ80 (3) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนก่อนและหลังเรียน เรื่อง สารในชีวิตประจำวันโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มโรงเรียนบึงกอก - หนองกุลาจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 33คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้(7E) เรื่องสารในชีวิตประจำวัน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องสารในชีวิตประจำวัน และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องสารในชีวิตประจำวันของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบ 7E สูงกวาเกณฑ์ร้อยละ 80 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ความสามารถในการแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่มth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มโรงเรียนบึงกอก-หนองกุลา จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using inquiry method (7E) in the topic of substances in everyday life on science learning achievement and science problem solving ability of Prathom Suksa VI students in Bungkok-Nongkula School Cluster in Phitsanulok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the students' science learning achievements in the topic of Substances in Everyday Life before and after learning by using inquiry method (7E); (2) to compare the students' post-learning achievement against the 80 percent criterion; and (3) to compare the students’ science problem solving abilities before and after learning the topic of Substances in Everyday Life by using inquiry method (7E). The research sample consisted of 33 Prathom Suksa VI students in an intact classroom of Bungkok-Nongkula School Cluster in Phitsanulok province, obtained by cluster random sampling. Research instruments comprised learning management plans for the inquiry method (7E) in the topic of Substances in Everyday Life at Prathom Suksa VI level, a science learning achievement test in the topic of Substances in Everyday Life, and a science problem solving ability test. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the students’ post-learning science learning achievement in the topic of Substances in Everyday Life was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level; (2) the students’ post-learning science learning achievement in the topic of Substances in Everyday Life after learning by using inquiry method (7E) was significantly higher than the 80 percent criterion at the .05 level; and (3) the students’ post-learning science problem solving ability was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156359.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons