Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2815
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนทร มณีสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุชาติ ศรีวรกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัฒนชัย แสนกล้า, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-01-26T02:19:07Z-
dc.date.available2023-01-26T02:19:07Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2815-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อให้ทราบถึงแนวทางในการระงับข้อพิพาทอันเนื่องมาจาก สัญญาสัมปทาน โดยอนุญาโตตุลาการ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับแนวทางระงับข้อพิพาท โดยอนุญาโตตุลาการใน ต่างประเทศ (2) เพื่อให้ทราบถึงกฎหมายทื่ใช้บังคับกับสัญญาสัมปทาน โดยศึกษาเปรียบเทียบกับต่างประเทศ (3) เพื่อพัฒนาแนวคิดในการนำหลักกฎหมายมาบังคับใช้ในสัญญาสัมปทานของรัฐ และ (4) เพื่อปรับปรุง กฎหมายเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการ โดยเฉพาะการนำวิธีการอนุญาโตตุลาการมาใช้กับสัญญาสัมปทานของรัฐให้มี ความชัดเจนและเป็นที่ยอมรับของคู่สัญญา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิธีวิจัยเชิงพรรณนาโดยวิจัยเอกสารเป็นหลัก โดยนำการวิเคราะห์แนวทาง ระงับข้อพิพาท รวมทั้งกฎหมายที่อนุญาโตตุลาการ ใช้บังคับกับสัญญาสัมปทานทั้งในต่างประเทศและในประเทศไทย เพื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบค้นหาความเหมาะสมกรณีที่ใช้กับปรเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า (1) การเลือกกฎหมายที่อนุญาโตตุลาการจะนำมาใช้ในการตัดสินชี้ขาดข้อพิพาท แบ่งได้เป็น 2 กรณี 1) กระบวนการอนุญาโตตุลาการภายในประเทศ ซึ่งคู่พิพาทต่างเป็นคนสัญชาติไทยด้วยกัน อนุญาโตตุลาการ ต้องตัดสินชี้ขาดข้อพิพาทไปตามกฎหมายไทย 2) กระบวนการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ ซึ่งคู่พิพาทอาจจะมีสัญชาติแตกต่างกัน หากคู่สัญญาได้กำหนดกฎหมายที่จะใช้บังคับกับสัญญาสัมปทานไว้ อนุญาโตตุลาการก็ต้องวินิจฉัยชี้ขาดตามบทบัญญัติของประเทศนั้น หากคู่สัญญามิได้กำหนดกฎหมายที่จะใช้บังคับกับสัญญาสัมปทานไว้ อนุญาโตตุลาการควรเลือกกฎหมายของประเทศต่าง ๆ ตาม “หลักว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย” ก็ได้ ทั้งนี้ต้องไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน (2) การตัดสินข้อพิพาทของอนุญาโตตุลาการ ในสัญญาสัมปทานในต่างประเทศมีการใช้หลักกฎหมายต่างๆ ในการอ้างอิงประกอบคำชี้ขาด อาทิเช่น หลักสุจริต หลักสัญญาต้องได้รับการปฏิบัติตามสัญญา หลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดชอบของรัฐ หลักการเคารพสิทธิได้มา หลักสิทธิในการเวนคืน หลักการชดใช้ค่าทดแทน และหลักการชดใช้ค่าเสียหาย เป็นต้น (3) สำหรับประเทศไทยก็มีการใช้หลักกฎหมายบางส่วนที่คล้ายคลึงกับต่างประเทศ โดยเฉพาะกรณีที่ข้อพิพาทจากสัญญาสัมปทานของรัฐมีความเกี่ยวพันกับประโยชน์สาธารณะ การวินิจฉัยชี้ขาดก็ได้นำหลักการต่างๆ ในกฎหมายมหาชนมาพิจารณาประกอบด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/ 10.14457/STOU.the.2011.59en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบังคับใช้กฎหมายth_TH
dc.subjectอนุญาโตตุลาการth_TH
dc.subjectสัมปทานth_TH
dc.titleปัญหาการบังคับใช้กฎหมายของอนุญาโตตุลาการแก่สัญญาสัมปทานของรัฐth_TH
dc.title.alternativeThe problem of applicable law by arbitration under concession contracts of stateth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.59en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were as follows: (1) to know the concept of dispute resolution by arbitration under concession contracts by comparing the concept in Thailand and those in foreign countries; (2) to know applicable law for concession contracts by comparing with those in foreign countries. (3) to dcvclope the concept of law to be enforced for the concession contracts of state; and (4) to improve the law of arbitration, particularly by the importation of arbitration to the concession contracts of state for more clearly and acceptable by all the parties. This research is used descriptive method by mean of documentary research, 'rhe analysis and the comparative study were made to the concept of dispute resolution by arbitration and the law applicable by arbitrators in the concession contracts both in foreign countries and Thailand in order to find out the suitable outcome for Thailand. Research finding were as follows: (1) The selection of law by arbitrators may separate into 2 types as follows: 1) in case of domestic arbitration that the same nationality of litigants, arbitrators must pass the award according to the law of Thailand, and 2) in case of international arbitration that the different nationality of litigants, if they agree to the applicable law of a certain country for concession contracts, arbitrators must pass the award according to the law of that countiy, if there IS no such agreement, arbitrators must pass the award according to the rule of “The Conflict of Law”. However, they could agree that arbitrators may award according to “The Principle of Good Faith and Fair”, in so far that it dose not conflict with “The Public Order or Good Morals”; (2) The awards of arbitrators under concession contracts of foreign countries have taken all the principle of law such as, The Principle of Good Faith. Pacta Sunt Servanda. State Responsibility, The Principle of Respect for Acquired Rights, The International Protection of Acquired Rights. The Right of Expropriation; Compensation, and Reparation; (3) เท Thailand, the law has resembled with the principle of law in foreign countries to some extents and specially in case of the dispute resolution in the concession contracts of Slate that concern with the public interest, it has also considered and applied all the principle of the public law thereinen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128810.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons