Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/281
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชำนาญ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายวิทย์ สุธรรมวิรัตน์, 2508-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-06T04:37:20Z-
dc.date.available2022-08-06T04:37:20Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/281-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาการใช้สารสนเทศของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน การทำงานระดับวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร (3) ศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศของ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร และ (4) เปรียบเทียบปัญหาการใช้สารสนเทศของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน การทำางานระดับวิชาชีพ ที่ขึ้นทะเบียนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 11,645 คน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 406 คน โดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนตามขนาดของสถานประกอบการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบรายคู่เชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบวา ( 1) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ งานระดับวิชาชีพมีการใช้สารสนเทศ โดยรวมในระดับมาก จำแนกเป็นรายด้าน พบว่ามีการใช้สารสนเทศด้านกฎหมายและข้อบังคับและความ ปลอดภัยมากที่สุด ( X =4.23) รองลงมาเป็นการใช้สารสนเทศด้านมาตรฐานอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย ( X =4.05) (2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับ วิชาชีพ จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ระดับการศึกษา และประเภทของสถานประกอบการ พบว่ามีการใช้สารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 (3) ปัญหาการใช้สารสนเทศ โดยรวม อยู่ในระดับมาก ได้แก่ แหล่งสารสนเทศตั้งอยู่ในทำเลห่างไกล( X =3.37) เนื้อหาสารสนเทศไม่ทันสมัย ( X =3.13) ไม่มีเวลาในการค้นหาสารสนเทศ( X =3.06) (4) เปรียบเทียบปัญหาการใช้สารสนเทศ พบว่า เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ งานระดับวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมีปัญหาการใช้ สารสนเทศ แตกต่างกนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในด้านเนื้อหาสารสนเทศ ส่วนเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ในการทำางานระดับวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการที่ต่างกันมีปัญหาการใช้สารสนเทศแตกต่างกัน ด้านแหล่งสารสนเทศ รูปแบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ อยางมีนัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ . 05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.112-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeInformation use by safety officers in professional level in Bangkoken_US
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.112-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed (1) to study information use by occupational safety officers in Bangkok; (2) to compare information use by these officers; (3) to study the problems of information use by these officers; and (4) to compare the problems of information use by these safety officers. This research was a survey study and the population consisted of 11,645 occupational safety officers in professional level in Bangkok. Multi-stage random selection for samples was used. The sample size was 406. The instruments were questionnaires. The statistics used in this study were percentage, mean, standard deviation, t-test and Ftest. The research findings can be summarized as follows. The occupational safety officers in Bangkok (1) use information at the high level, and when classified by each aspect, the most used were legal and safety regulations ( X =4.23) and health and environment standards in the workplace ( X =4.05). (2) Comparing information use by work experience, educational background and type of business, significant differences were found overall. (3) The problems of information use were at the high level, including lack of access to information sources ( X = 3. 37) , no updated contents ( X = 3. 13) and lack of time for searching ( X =3.06). (4) Comparing the problems of information use by work experience, it was found that there were overall significant differences in contents, but regarding the problems of information use by type of business, statistical significance was found at .05 for information sources, information forms, and information technology.en_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152351.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons